Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4041
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมานth_TH
dc.contributor.authorเพ็ญโฉม จั่นโพล้ง, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-12T00:52:32Z-
dc.date.available2023-03-12T00:52:32Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4041en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง "นิทานพื้นบ้าน โคราช” สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดนครราชสีมา และ (2) ตรวจสอบคุณภาพหนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้น ผู้ศึกษาสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง “นิทานพื้นบ้านโคราช” โดยให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คนตรวจสอบคุณภาพหนังสือที่สร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบคือ แบบประเมินคุณภาพของ หนังสือ การวิเคราะห์ผลการตรวจสอบคุณภาพใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง และให้นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 10 คน อ่านหนังสือดังกล่าวและตอบแบบสอบถามความคิดเห็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนใช้ค่าเฉลี่ย ผลการศึกษามีดังนี้ (1) หนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง “นิทานพื้นบ้านโคราช” ที่สร้างขึ้น มี 10 เรื่อง แต่ละเรื่องเป็นนิทานพื้นบ้านที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรมในด้านต่างๆ มีภาพสี ประกอบ และมีคำถามท้ายเล่มและ (2) ผลการตรวจสอบคุณภาพหนังสือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้าน รูปเล่ม ด้านการจัดภาพ ด้านการดำเนินเรื่อง ด้านเนื้อหา และด้านภาษามีค่าดัชนีความสอดคล้อง ระหว่าง 0.66 - 1.00 ซึ่งถือว่ามีความเหมาะสม ผลการตรวจสอบคุณภาพตามแบบมาตราส่วน ประมาณค่าโดยนักเรียนด้านเนื้อเรื่อง ด้านสำนวนภาษา ด้านภาพประกอบ ด้านรูปเล่มและการ จัดรูปแบบ และด้านคุณค่าและประโยชน์ที่ได้รับ มีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวม 2.69 ซึ่งถือว่ามี คุณภาพเหมาะสมในระดับมาก จึงสรุปได้ว่าหนังสือส่งเสริมการอ่านที่สร้างขึ้นมีคุณภาพเหมาะสม ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectหนังสืออ่านประกอบ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.subjectนิทาน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleการสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่านเรื่อง "นิทานพื้นบ้านโคราช" สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeConstruction of a reading enhancement book entitled "folk tales of Khorat" for Prathom Suksa III students in Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to construct a reading enhancement book entitled “Folk Tales of Khorat” for Prathom Suksa III students in Nakhon Ratchasima province; and (2) to verify quality of the constructed reading enhancement book. The author constructed a reading enhancement book entitled “Folk Tales of Khorat” then asked three experts to verify its quality. The instrument employed for quality verification was a quality assessment form. Data on quality verification were analyzed with the index of concordance (IOC). After that, 10 Prathom Suksa III students were asked to read the book and answer a 3-scale rating questionnaire asking their opinions toward the book. Data on the students’ opinions were analyzed using the rating mean. Findings of the study were as follows: (1) the constructed reading enhancement book comprised 10 stories; each story was a folk tale of Khorat with contents that included the teaching on moral issues, with color illustrations, and with the end-of-story questions; and (2) results of quality verification by experts showed that the IOCs of the reading enhancement book’s aspects of the book appearance, the illustration arrangement, the flow of the stories, the contents, and the language usage ranged from 0.66 – 1.00 which was considered to be appropriate; and the students’ overall rating mean on aspects of the book including the contents, the verbal style, the illustration, the structure arrangement and appearance, and the value and usefulness was 2.69 which indicated that the book’s quality was highly appropriate; therefore, it could be concluded that the constructed reading enhancement book had quality at the highly appropriate level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_139362.pdfเอกสารฉบับเต็ม28.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons