Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ บุตราช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เชิดชูพงศ์ล้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินตนา ธนวิบูลย์ชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัศมี พันธุลาภ, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T06:49:53Z-
dc.date.available2022-08-10T06:49:53Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/405-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) จำแนกระดับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้านวิชาการ ตามความคิดเห็นของนักวิชาการสาธารณสุขระดับตำบล (2) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคล ประสบการณ์การทํางาน และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ นักวิชาการสาธารณสุขระดับตำบล และ (3) จําแนกความสัมพันธ์ระหว่างระบบการปฎิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้านวิชาการ กับลักษณะส่วนบุคคล ประสบการณ์การทำงาน และแรงจูงใจในการปฏิบัติงานการศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยเชิงพรรณนา และทําการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนจากประชากรนักวิชาการสาธารณสุขระดับตำบลใน 12 เขตการสาธารณสุข ทําการเก็บข้อมูลจากตัวอย่าง โดยการส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ และมีจํานวนตัวอย่างที่ตอบกลับมาทั้งสิ้น 219 คน ทําการวิเคราะห์ข้อมูลแบบแบ่งช่วงของตัวแปรต้นและตัวแปรตามเป็นค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรับค่าตัวแปรที่ศึกษาเป็นข้อมูลแบบแบ่งพวกเพื่อจำแนกตามรายการย่อย ทําการทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้านวิชาการของนักวิชาการสาธารณสุขระดับตำบลทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม จำแนกอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งมีด้านการสาธารณสุขมูลฐานและการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับสูง และด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับปานกลาง (2) ส่วนใหญ่ของตัวอย่างมีอายุระหว่าง 30-39 ปี มีสถานภาพสมรส ตัวอย่างเกือบทั้งหมด วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาสาธารณสุขศาสตร์ ประมาณครึ่งหนึ่งมีรายได้ต่อเดือน 10,001-15,000 บาท ส่วนใหญ่ของตัวอย่างมีอายุราชการระหว่าง 10-20 ปี เคยทํางานในตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชนและเจ้าหน้าที่บริหารงานสาธารณสุขมาก่อน และเคยได้รับการศึกษาดูงานและอบรมด้านวิชาการ ประมาณ 2 ใน 3 ของตัวอย่างปฏิบัติงานในตำแหน่งปัจจุบันมานาน 5-9 ปี ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมของทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับสูง (3) มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติระหว่างระดับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้านวิชาการของนักวิชาการสาธารณสุขโดยภาพรวมทุกด้านกับระดับการศึกษา ตำแหน่งเดิมก่อนตำแหน่งปัจจุบัน และแรงจูงใจในองค์ประกอบของความสําเร็จและการยอมรับนับถือ โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน สภาพและลักษณะงาน ด้านการวางแผนและประเมินผลกับตำแหน่งเดิมก่อนตำแหน่งปัจจุบัน แรงจูงใจในองค์ประกอบของรายได้และประโยชน์เกื้อกูลต่าง ๆ ความสําเร็จและการยอมรับนับถือ โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานโดยรวม: ด้านการศึกษาวิเคราะห์วิจัยกับระดับการศึกษา สถานภาพสมรส, ด้านการนิเทศงานกับระดับการศึกษา ตำแหน่งเดิมก่อนตำแหน่งปัจจุบัน และแรงจูงใจในองค์ประกอบของสภาพและลักษณะงาน ความสำเร็จและการยอมรับนับถือ โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานโดยรวม: ด้านการฝึกอบรมประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขในชุมชน กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวม: ด้านการสาธารณสุขมูลฐานและการพัฒนาคุณภาพชีวิต กับระดับการศึกษา ตำแหน่งเดิมก่อนตำแหน่งปัจจุบัน ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งปัจจุบัน และแรงจูงใจในองค์ประกอบของสภาพและลักษณะงาน ความสําเร็จและการยอมรับนับถือ การปฏิบัติงาน โดยรวม: ด้านการประสานงานกับอายุ อายุราชการและแรงจูงใจในองค์ประกอบของความสําเร็จและการยอมรับนับถือ โอกาสก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานโดยรวมคำสําคัญ ความคิดเห็น ระดับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้านวิชาการ นักวิชาการสาธารณสุข งานตามบทบาทหน้าที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectนักวิชาการสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleความคิดเห็นของนักวิชาการสาธารณสุขระดับตำบลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ด้านวิชาการth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to identify die technical performance level of Technical Health Officers at sub-district level according to their opinions, (2) to study personal characteristics, work experience, and job motivation of the Technical Health Officer, and (3) to determine the relationship between the technical performance level and personal characteristics, work experience, and job motivation. Under the descriptive research design, the multistage random sampling was employed to select Technical Health officer samples within 12 public health regions. Questionnaires were mailed to the samples and 219 replies were returned. Interval variables were analysed into their means and standard deviation and then were converted into categorical variables in order to be tested by chi-square for their relationships. The findings were (I) The technical performance level of Technical Health Officers for all 6 aspects was classified as moderate, of which the PHC( Primary Health Care) and QoL( Quality of life) development aspect was at high level and the others were at moderate level. (2) The majority of the subjects was between 30-39 years old, married, had worked for 11-20 yeans, had been trained for technical knowledge, and had worked as community health personnel and management personnel. All of them had earned 10,001-15.000 baht monthly. Almost all of them had attained a bachelor’s degree in public health. About two-thirds of them had been in lire present position for 5-9 years. Job motivation for all components was at high level. (3) There was a statistically significant relationship between Technical Health Officer’s technical performance level of all aspects and educational level, the former position, and job motivation in the components of accomplishment and recognition, opportunity for job enhancement, and job content; of planning and evaluation aspect and the former position, and job motivation in the components of wages and fringe benefits, accomplishment and recognition, opportunity for job enhancement and the whole performance; of education, analysis, and research aspect and educational level and marital status; of supervision aspect and educational level, the former position, and job motivation in the components of job content accomplishment and recognition, opportunity for job enhancement, and the whole performance; of community and volunteer training aspect and job motivation of the whole performance; ofPHCand Qol. development aspect and educational level, the former position, and work duration of the present position, and job motivation in the components of job content accomplishment and recognition, and the whole performance; an d of co-ordination aspect and age, work duration, and job motivation in the components of accomplishment and recognition, opportunity for job enhancement, and the whole performanceen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
76818.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons