Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4128
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพฑูรย์ อินวงศ์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T08:33:54Z-
dc.date.available2023-03-13T08:33:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4128-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความความเป็นมาของระบอบประชาธิปไตย และเป้าหมายหลักของระบอบประชาธิปไตย รวมถึงแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับความเป็นพรรคการเมืองของประเทศไทย รวมถึงปัญหาของการเข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมืองในพรรคการเมืองของภาคประชาชนของประเทศไทย (3) เสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการเข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมืองในพรรคการเมืองของประชาชนของประเทศไทย โดยการเสนอการแก้ไขหรือปรับปรุงกฎหมายเพื่อสร้างโอกาสในการเข้าไปมีส่วนร่วมในทางการเมืองในพรรคการเมืองของภาคประชาชน และเสนอแนวทางเพื่อใช้ปรับปรุงกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดแนวทางร่วมกัน ในการสร้างผลให้เกิดขึ้นในทางปฏิบัติได้อย่างแท้จริงเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยทางกฎหมาย ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุของที่มาของปัญหา อุปสรรค ผลของการขาดการมีส่วนร่วมในทางการเมืองในพรรคการเมือง โดยศึกษาประเด็นปัญหาทางข้อกฎหมายที่เป็นข้อ อุปสรรคในเรื่องของการมีส่วนร่วมในทางการเมืองในพรรคการเมืองของภาคประชาชน แนวทางในการพัฒนาปรับปรุงพรรคการเมืองในอนาคตเพื่อแก้ไขปัญหาที่เป็นอยู่ และปฏิบัติให้มีแนวทางสอดคล้องกับอนาคต โดยเปรียบเทียบกับแนวทางการดำเนินการในพรรคการเมืองของประเทศอื่นที่ประสบกับความสำเร็จในการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จากการศึกษาได้พบว่าพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2550 มีช่องว่างที่ทำให้การพัฒนาทางการเมืองของภาคประชาชนไม่ก้าวหน้า และมาตราที่ 26 เป็นมาตราหลักที่เป็นอุปสรรคเนื่องจากไม่เอื้อให้พรรคการเมืองขยายจำนวนสมาชิก เพื่อเปิดโอกาสขยายการเรียนรู้ไปสู่ภาคประชาชนตามหน้าที่ของพรรคการเมืองที่ถูกต้อง และก็ยังมีมาตราอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน ที่ต้องมีการปรับปรุงด้วยเนื่องจากมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันกับมาตรานี้ ซึ่งจะเป็นแนวทางนำพรรคการเมือง ไปสู่แนวทางที่ถูกต้องและพัฒนาการไปอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพรรคการเมืองth_TH
dc.subjectการเมือง--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleการแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรคการเมืองเพื่อการสร้างโอกาสในการเข้ามามีส่วนร่วมของภาคประชาชนth_TH
dc.title.alternativeThe amendment of the organic law on political parties for enhanecment of the participation of the peopleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons