Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมทรง อินสว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอาภาพรรณ ทองบุญรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิรมล ล้วนรัตนากร, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T07:31:55Z-
dc.date.available2022-08-10T07:31:55Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/412-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการทำลายฤทธิ์ยาด้วยวิธีทางกายภาพ เคมี และชีวภาพต่อตัวยาอะม็อกซิซิลลินกับกากของเสียที่ปนเปื้อนตัวยาอะม็อกซีซิลลิน หรือตัวเคล็อกซาซิลลินกับกากของเสียทีปนเปื้อนตัว เคล็อกซาซิลลิน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงทดลองนี้คือ ตัวยาอะม็อกซิซิลลิน ตัวยาหลอกซาซิลลิน ผลิตภัณฑ์ชนิดแคปซูลของตัวยาอะม็อกซิซิลลินและคลอกซาซิลลิน ผลิตภัณฑ์ชนิดผงแห้งสำหรับละลายน่ารับประทานของตัวยาอะม็อกซิซิลลินและคลอกซาซิลลิน วิธีทำลายฤทธิ์ยา ได้แก่ การใช้ไออากาศร้อนแห้งที่อุณหภูมิ 250 องศาเซลเซียส การใช้ไอน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส การใช้ต่างโซเดียมไฮดรอกไซด์ การใช้เอนไซม์เพนนิซิลลิเนส และการเจือจางฤทธิ์ยาด้วยน้ำ หาปริมาณฤทธิ์ยาทั้งก่อนและหลังทำลายฤทธิ์ด้วยวิธีอะการ์ดิฟฟิวชั่น โดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ทดสอบฤทธิ์ยาเป็น Micrococcus luteus ATCC 934 ปริมาณฤทธิ์ยาเทียบเป็นหน่วยยูนิตของสารมาตรฐานเพนนิซิลลิน ปีต่อน้ำหนักมิลลิกรัมของตัวยาอะม็อกซิซิลลินหรือ คล็อกซาซิลลิน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของปริมาณฤทธิ์ยา และค่าร้อยละเฉลี่ยของปริมาณฤทธิ์ยาที่เหลืออยู่เทียบกับปริมาณฤทธิ์ยาเริ่มต้น ผลการวิจัยพบว่า การทำลายฤทธิ์ยาด้วยวิธีทางกายภาพ เคมีและชีวภาพต่อตัวยาอะม็อกซิซิลลินกับกากของเสียที่ปนเปื้อนตัวยาอะบอกซิซิลลิน หรือตัวยาคลอกซาซิลลินกับกากของเสียที่ปนเปื้อนตัวยาคลอกซาซิลลิน มีผลทำให้ปริมาณฤทธิ์ยาลดลงจากเดิม ยกเว้นการทำลายฤทธิ์ยาด้วยการใช้ไอน้ำร้อนที่ อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ต่อด้วยเคล็อกซาซิลลิน ปริมาณฤทธิ์ยาที่เหลืออยู่น้อยกว่าจํากัดการตรวจวัดของวิธีวิเคราะห์ กากของเสียชนิดผงแห้งสำหรับละลายน่ารับประทานที่มีตัวยาคล็อกซาซิลลินมีค่าร้อยละเฉลี่ยของปริมาณฤทธิ์ยาที่เหลืออยู่เป็น 0.1199 ค่าร้อยละเฉลี่ยของปริมาณฤทธิ์ยาที่เหลือของตัวยาอะม็อกซีซิลลินและกากของเสียชนิดแคปซูลของตัวยาอะม็อกซิซิลลินหลังการทำลายฤทธิ์ด้วยการใช้เอนไซม์เพนนิซิลลิเนสเปน 0.0001 และ 0.0062 ตามลำดับ เนื่องจากส่วนประกอบอื่น ๆ ในกากของเสียมีผลทําให้การทําลายฤทธิ์ยายากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเพนนิซิลลินth_TH
dc.subjectโรงงาน--การกำจัดของเสียth_TH
dc.titleการทำลายฤทธิ์ยากลุ่มเพนนิซิลลินในกากของเสียจากโรงงานผลิตยาth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare physical, chemical and biological methods for inactivation of Amoxicillin and Amoxicillin in solid wastes or Cloxacillin and Cloxacillin in solid wastes. The samples in this experimental research were Amoxicillin, Cloxacillin, capsules of Amoxicillin and Cloxacillin, dry oral syrup powder of Amoxicillin and Cloxacillin. The inactivation methods included hot air oven at 250 c, autoclave at 121 c, alkali treatment with sodium hydroxide, concentrated penicillinase enzyme and dilution with sterile water. Agar diffusion method was applied to determine the drug potency before and after inactivation by using Micrococcus luieus ATCC 9341. The drug potency was calculated as unit of Penicillin G per milligram of Amoxicillin or Cloxacillin content weight. The data of drug potency were analyzed by mean, standard deviation of drug potency and average percentage of residual drug potency compared with inililial drug potency. The results showed that physical, chemical and biological methods for inactivation of Amoxicillin and Amoxicillin in solid wastes or Cloxacillin and Cloxacillin in solid wastes resulted in reduction of drug potency from initial amount except for the inactivation by autoclave at 121 °C, the residual drug potency of Cloxacillin was less than (he detection limit of the analytical method. The average percentage of the residual drug potency of Cloxacillin in dry oral syrup powder wastes was 0.1399. The average percentage of the residual drug potency of Amoxicillin and Amoxicillin in capsule wastes after inactivation by concentrated penicillinase enzyme were 0.0001 and 0.0062, respectively owing to other inactive ingredients in solid wastes caused inactivation more difficultth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77205.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons