Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4130
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนีย์ อัศวโรจน์th_TH
dc.contributor.authorไพรัช แสงจันทร์, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T08:41:50Z-
dc.date.available2023-03-13T08:41:50Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4130en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง และระบบการเลือกตั้ง เพื่อศึกษาระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อเปรียบเทียบระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเทศไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ เพื่อเสนอแนะแนวทางและระบบการเลือกตั้งที่เหมาะสมสอดคล้องกับประเทศไทยในสถานการณ์ปัจจุบัน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาค้นคว้าจากตำราหนังสือทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ ตลอดจนศึกษาข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ บทบัญญัติของกฎหมาย คำพิพากษาฎีกา วิทยานิพนธ์ งานวิจัย เอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกฎหมายต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ประเทศเยอรมันนีและประเทศญี่ปุ่น การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อมีการใช้บัตรเลือกตั้งสองใบ ประเทศญี่ปุ่นผู้สมัครรับเลือกตั้งสามารถสมัครได้ทั้งแบบแบ่งเขตการเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ ประเทศเยอรมันนีมีจำนวนสัดส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนเท่ากัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้มีการเสนอให้มีการกำหนดให้มีการใช้บัตรเลือกตั้งสองใบเพื่อใช้ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละประเภท เสนอให้ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง คือผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดในเขตเลือกตั้งนั้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้งth_TH
dc.subjectสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร--การเลือกตั้ง--ไทยth_TH
dc.subjectเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่นth_TH
dc.subjectกฎหมายเลือกตั้ง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleระบบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560th_TH
dc.title.alternativeElectoral system of house of representative members on a constituency basis under the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2560en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent research are: to study background, concepts, theories related to election and electoral systems; to study the electoral system of the House of Representatives of Thailand and abroad; to compare the electoral system of the House of Representatives of Thailand and abroad; and to provide appropriate guidance and electoral systems consistent with Thailand in the current situation. This independent study is a qualitative research based on documentary research. The study of books from both Thailand and abroad. Information from the media. Provisions of the Law Judgment, Dissertation, Research, Documents and Related Information Including related international law. The results showed that in Germany and Japan, the House of Representative members were elected on a constituency basis and with a list of candidates using two ballots. In Japan, candidates can apply for both on a constituency basis and with a list of candidates. In Germany, the proportion of the House of Representatives members elected by both methods was equal. Therefore, the researcher proposes that Two ballots should be used in the election of the House of Representatives members of each method. The candidate elected on a constituency basis should be the one with the highest score in that particular electorate.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons