Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4132
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพรินทร์ ขันตีสกุลเจริญ, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T08:48:13Z-
dc.date.available2023-03-13T08:48:13Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4132-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับกฎหมายปกครองในเรื่องบริการสาธารณะ และกฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในการจัดการขยะมูลฝอย ศึกษาปัญหาอัน เป็นอุปสรรคต่อการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ศึกษากฎหมายสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของต่างประเทศ ศึกษาแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับการ จัดการขยะมูลฝอยให้มีความชัดเจนและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในการบังคับใช้กฎหมาย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และศึกษาวิจัยเชิงเอกสารโดยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น ตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ตลอดจนค้นคว้าข้อมูลทางสารสนเทศ ผลการศึกษา พบว่า เรื่องการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมในการจัดการขยะมูลฝอย มีกฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานในการบริหารจัดการขยะหลายฉบับมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน และหน่วยงานที่บังคับใช้กฎหมายก็มิได้อยู่ในสังกัดเดียวกัน จึงส่งผลให้การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขาดความเป็นเอกภาพซึ่งทำให้เกิดความซํ้าซ้อนกันในด้านการดำเนินงานและการบังคับใช้อีกทั้ง การที่มิได้มีกฎหมายหลักที่ทุกหน่วยงานจะต้องปฏิบัติตามแนวทางเดียวกันทำให้มีข้อขัดแย้งในการทำงานระหว่างหน่วยงานซึ่งสาเหตุมาจากการที่ไม่มีหน่วยงานกลางที่มีประสิทธิภาพในการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงส่งผล ให้ประเทศไทยประสบกับปัญหาขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลซึ่งมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น และปัญหาดังกล่าวทำ ให้กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นอย่างยิ่ง สาเหตุมาจากกฎหมายที่บังคับใช้อยู่ยังไม่มีการปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพเพียงพอให้ทันกับสภาพการณ์การปฏิบัติตามแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ในการที่จะพิทักษ์รักษาและคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectขยะ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectกฎหมายสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม : ศึกษากรณีกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยth_TH
dc.title.alternativeEnvironmental law enforcement: a case study waste management lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study concepts and theories concerning administrative law: public service and environmental law for waste management, problems in enforcing waste management, environmental laws for waste management in foreign countries, and processes of improving the waste management law to be clearer and more effective. This independent study is a legal research conducted by way of a qualitative research methodology textbook, article, thesis, independent study including related information were used for data collection and analysis. The results indicated that there are many parts of laws specified rules, processes, and waste management standard for enforcement of environmental law. There are many sectors were also related to the specification. However, the related sectors are not same institutes. Also, waste management was not well organized; unclear work processes and enforcement. There was conflict with the related sectors because main regulations for waste management were not specified; no main effective sector coordinated between related sectors. More formal conjuctions, increasing waste and garbage became Thailand’s problem. The waste problem affected environment and people lifestyle because enforced law had not been improved to be effective following Strategies of Waste Management in Thailand (A.D.2016-2021) for natural and environmental maintenanceen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons