Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4133
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาสนา ทวีกุลทรัพย์ | th_TH |
dc.contributor.author | ศุภชัย พึ่งพงษ์, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-13T08:50:27Z | - |
dc.date.available | 2023-03-13T08:50:27Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4133 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่กำลังเรียนในปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จํานวน 173 คน ได้มาโดย การสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด มีดังนี้ (1) นักเรียนมีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อยู่ในระดับปานกลาง และใช้สมาร์ทโฟนกันมาก (2) วัตถุประสงค์ของการใช้สื่อสังคมเพื่อเรียนรู้คําศัพท์ (3) ประโยชน์ของการเรียนด้วยสื่อสังคม ทําให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกับเพื่อนในห้องเรียน (4) ประเภทของสื่อสังคมที่นักเรียนใช้ คือยูทูบ ใช้เพื่อเป็นแหล่งความรู้และฝึกทักษะทางภาษาอังกฤษ (5) ทักษะภาษาอังกฤษที่เรียนด้วยสื่อสังคม คือ ทักษะการอ่าน (6) คุณภาพของบทเรียนในสื่อสังคม คือ บทเรียนมีเนื้อหาเหมาะกับระดับนักเรียน และมีคําอธิบายชัดเจน ภาพเคลื่อนไหวน่าสนใจ สีของตัวอักษรมองเห็นได้ชัดเจน (7) รูปแบบของบทเรียนในสื่อสังคมที่นักเรียนใช้มาก คือ นิทาน (8) สถานที่ที่ใช้สื่อสังคม คือ โรงเรียน ความถี่ในการใช้พบว่าใช้ทุกวัน และระยะเวลาในการใช้ระหว่าง เวลา 08.00-12.00 น.และ (9) ปัญหาการใช้สื่อสังคมเกิดจากประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์--การศึกษาและการสอน | th_TH |
dc.subject | ภาษาอังกฤษ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Use of social media for English language learning of Mathayom Suksa I students at Triam Udom Suksa Phatthanakan Pran Buri School in Prachaup Khiri Khan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study the use of social media for English language learning of Mathayom Suksa I students at Triam Udom Suksa Phatthanakan Pran Buri School in Prachuap Khiri Khan Province. The research sample consisted of 173 Mathayom Suksa I students at Triam Udom Suksa Phatthanakan Pran Buri School in Prachuap Khiri Khan Province during the 2017 academic year, obtained by simple random sampling. The research instrument was a questionnaire on the use of social media for English language learning. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings showed that the overall use of social media for English language learning by the students was at the high level. When specific aspects of the use were considered, it was found that the items receiving the highest rating mean under each specific aspect were the following: (1) the item in the aspect of the students’ uses of the social media was that on the students having the skills for using instruments and accessories at the moderate level and their using of smart phones at the high level; (2) the item in the aspect of the objective of using the social media was that on the use for learning vocabulary; (3) the item in the aspect of benefits of the use of social media for learning was that on the benefit for learning together with classmates in the classroom; (4) the item in the aspect of types of social media being used was that on You Tube which was used as a source of knowledge and for English skill practice; (5) the item in the aspect of English skills learned with the social media was that on the reading skill; (6) the item in the aspect of quality of lessons in the social media was that on the lesson having appropriate contents for the level of students, having clear explanations, interesting animation, and the colors of letters being able to be seen clearly; (7) the item in the aspect of types of lesson used most by the students was that on fairy tales; (8) the item in the aspect of the place where students used the social media was that on the school; the frequency of the use was every day; and the time interval of the use was between 8.00 – 12.00 o’clock; and (9) the item in the aspect of problems of the use of social media was that on the problems concerning efficiency of the network system. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_159236.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License