Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพโรจน์ ทองปาน, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T08:56:55Z-
dc.date.available2023-03-13T08:56:55Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4136-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องปัญหาเขตอานาจศาล กรณีการฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งมีปัญหาเกี่ยวพันกับสิทธิในที่ดินมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับเขตอำนาจศาลในระบบศาลคู่ (2) เพื่อวิเคราะห์เขตอำนาจศาลกรณีการฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งของเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งเป็นประเด็นหลักที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง แต่มีประเด็นเกี่ยวพันกับสิทธิในที่ดินซึ่งเป็นประเด็นที่จำเป็นต้องวินิจฉัยก่อนจึงจะวินิจฉัยประเด็นหลักแห่งคดีได้อยู่ในอำนาจศาลยุติธรรม (3) เพื่อศึกษาข้อกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นประเทศต้นแบบในระบบศาลคู่ และเป็นประเทศที่มีกฎหมายวิธีพิจารณาคดีปกครองคล้ายคลึงกับประเทศไทยเกี่ยวกับศาลที่มีอำนาจวินิจฉัยประเด็นที่ต้องวินิจฉัยก่อนซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลอื่น และ (4) เพื่อเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาเรื่องศาลที่มีอำนาจวินิจฉัยประเด็นที่จำเป็นต้องวินิจฉัยก่อนจึงจะวินิจฉัยประเด็นหลักแห่งคดีได้อยู่ในอำนาจศาลอื่น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารโดยการศึกษาค้นคว้าจากบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากตำรา บทความทางวิชาการ งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ รวมทั้งคำสั่งศาลปกครองสูงสุด คำพิพากษาศาลปกครองสูงสุด และคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาเกิดจากยังไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายระดับพระราชบัญญัติกำหนดวิธีพิจารณาเกี่ยวกับคดีที่มีประเด็นที่จะต้องวินิจฉัยก่อนที่อยู่ในเขตอำนาจศาลอื่น หากได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 โดยนำข้อความที่เป็นประเด็นปัญหาที่กำหนดในข้อ 41 วรรคสอง แห่งระเบียบของที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543 ไปบัญญัติเพิ่มเติมไว้ในพระราชบัญญัติดังกล่าวก็จะทำให้ศาลปกครองซึ่งรับคำฟ้องประเด็นหลักไว้มีอำนาจวินิจฉัยประเด็นที่จำเป็นต้องวินิจฉัยก่อนซึ่งอยู่ในอำนาจของศาลอื่นได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการฟ้องth_TH
dc.subjectที่ดิน--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาเขตอำนาจศาลกรณีการฟ้องขอให้เพิกถอนคำสั่งทางปกครองของเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 61 แห่งประมวลกฏหมายที่ดินซึ่งมีปัญหาเกี่ยวพันกับสิทธิในที่ดินth_TH
dc.title.alternativeThe conflict of jurisdiction in case of request to revoke officer's administrative order following section 61 of the land code, under Issue relating to land's righten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on “The Conflict of Jurisdiction on Revocation of the Administrative Orders under Section 61 of the Land Code relating to Land’s Right Issue” aims to: (1) study related ideas of jurisdiction in dual court system, (2) analyze jurisdiction on revocation of an administrative order of the official under section 61 of the Land Code, which the main issue is under the power of the Administrative Court, but a related issue on land’s right needs to consider by the Court of Justice before trial, (3) study related French laws, which is the origin of dual court system and have similar judicial procedures to Thailand in terms of judgment power in an issue that needs prior other court judgment, and (4) present proper guidelines to solve conflict of jurisdiction on judgment power in an issue that needs prior other court judgment. This independent study is a qualitative research, mainly on documentary research, by studying provisions of related laws, related documents from textbooks, academic journals, research papers, or thesis, including the orders of the Supreme Administrative Court, Supreme Administrative Court judgments, and decisions of the authority between courts. This study finds the problem occurs due to no provision of the Act determining ruling method for a case with issue that needs prior other court judgment. If there is an amendment of the Act on establishment of Administrative Courts and Judicial Procedures B.E. 2542, by adding similar provision as in section 41, paragraph two, of the Regulation of the General Meeting of Judges of the Supreme Administrative Court on the Judicial Procedures B.E. 2543, to the Act, which will authorize the Administrative Court to consider an issue that needs prior other court judgmenten_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons