Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวาสุกรี แสงป้อม-
dc.date.accessioned2022-08-10T07:33:15Z-
dc.date.available2022-08-10T07:33:15Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2564), หน้า 74-88th_TH
dc.identifier.issn1905-4653-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/413-
dc.description.abstractแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในฐานะเป้าหมายการสอนคณิตศาสตร์ คือ ความสามารถพื้นฐานที่ผู้เรียนจะนำไปแก้ปัญหาและประยุกต์ใช้กับสาขาวิชาอื่น ๆ แต่การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนไทย ปัจจุบันยังไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนแก้ปัญหาด้วยตนเอง การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ จำนวน 16 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาแคลคูลัส 2 หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ระบบพิกัดเชิงขั้ว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ระบบพิกัดเชิงขั้ว แบบบันทึกภาคสนามแบบสัมภาษณ์ และแบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ควรเน้นให้ผู้เรียนใช้วิธีการเรียนรู้ที่ผ่านมาซึ่งมี 4 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 ผู้เรียนนำเสนอปัญหาทางคณิตศาสตร์โดยการอภิปรายร่วมกันเพื่อวางแผนการแก้ปัญหา ขั้นที่ 2 แก้ปัญหาโดยอาศัยกระบวนการกลุ่ม ผู้สอนคอยสนับสนุนการแก้ปัญหาของผู้เรียนแต่ละคน ขั้นที่ 3 การอภิปรายให้เหตุผลและเปรียบเทียบแนวคิดที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ และขั้นที่ 4 การสรุปเพื่อเชื่อมโยงแนวคิดทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนที่เกิดในชั้นเรียนคณิตศาสตร์th_TH
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.subjectแบบจำลองทางคณิตศาสตร์th_TH
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeLearning management using mathematical models of learners in mathematics problem solvingth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.description.abstractalternativeMathematical model as a mathematical teaching goal is the basic ability for learners to solve problems and apply to other disciplines. Currently, learning management in Thailand does not encourage students to solve the problems by themselves. This research aimed to study learning management practices using mathematical models of learners to solve mathematical problems. The target group was 16 second-year students majoring in Electrical Engineering in the first semester of the academic year 2020 at the Faculty of Engineering and Architecture Rajamangala, University of Technology Suvarnabhumi, Suphanburi Center, who enrolled in the calculus 2: polar coordinate system. The research instrument was the learning management plan: polar coordinates system, field note, interview, and reflective learning management. Data was analyzed by content analysis. The results showed that learning management using mathematical models of learners to solve mathematical problems should emphasize that students use the previous learning method with four steps: step 1: learners present mathematical problems by discussing together to plan solutions, step 2: solves problems based on a group process with teachers supporting each student’s problem solving, step 3: rational discussion and comparison of ideas in the math classroom, and step 4: summarizing to connect the mathematical concepts in the math classroomen_US
Appears in Collections:STOU Education Journal

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
44201.pdfเอกสารฉบับเต็ม769.96 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons