Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4144
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์th_TH
dc.contributor.authorรุ่งฤดี อ่อนสง, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-13T13:21:44Z-
dc.date.available2023-03-13T13:21:44Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4144en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะ การแก้ปัญหาโจทย์คำนวณ วิชาเคมี เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมีที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียน ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ การแก้ปัญหาโจทย์เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 44 คน ที่กำลังเรียนอยู่ในปี การศึกษา 2555 ที่โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้มา โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือแบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบียนเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณของสารในสมการเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 80,90/82.39 และ (2) ผลการใช้แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเคมี--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectเคมี--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleผลการใช้แบบฝึกทักษะการแก้ปัญหาโจทย์คำนวณวิชาเคมีเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของสารในสมการเคมีที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeEffects of using exercises on chemistry calculation in the topic of the relationship between quantity of substances in chemical equation problem solving solution on science achievement of Mathayom Suksa IV students at Surat Thani 2 School in Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativecalculation problem solving skill in the topic of the Relationship between Quantity of Substances in Chemical Equation based on the 80/80 efficiency criterion; and (2) to compare science learning achievements of students before and after learning by using exercises on chemistry calculation problem solving skill in the topic of the Relationship between Quantity of Substances in Chemical Equation. The sample of this research consisted of 44 Mathayom Suksa IV students studying during the 2011 academic year at Surat Thani 2 School under the Office of Secondary Education Service Area 11, obtained by cluster sampling. The treatment instrument was the exercises on chemistry calculation problem solving skill in the topic of the Relationship between Quantity of Substances in Chemical Equation for Mathayom Suksa IV students. The data collecting instrument was a learning achievement test. Statistics used in data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the developed exercises on chemistry calculation problem solving skill in the topic of the Relationship between Quantity of Substances in Chemical Equation for Mathayom Suksa IV students was efficient at 80.90/82.39; and (2) the use of exercises on chemistry calculation problem solving skill resulted in the post-learning science learning achievement of the students being significantly higher than their pre-learning science learning achievement at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_137471.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons