Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4147
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิริวรรณ ศรีพหล | th_TH |
dc.contributor.author | ดุษฎี จุลกะนาค, 2505- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-13T13:49:52Z | - |
dc.date.available | 2023-03-13T13:49:52Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4147 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลเรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา จังหวัด นครปฐม (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังใช้ชุดการสอน แบบรายบุคคลเรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อชุดการสอนแบบรายบุคคลเรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา จังหวัดนครปฐม ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่ม แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุดการสอนแบบรายบุคคล เรื่อง หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา จำนวน 4 หน่วย (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอน เรื่อง หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนที่พัฒนาขึ้น จำนวน 4 หน่วย ประกอบด้วย หน่วยที่ 1 เรื่อง พระรัตนตรัย หน่วยที่ 2 เรื่อง หลักธรรม (ขันธ์ 5 กรรม อบายมุข 6 สุข 2 คิริสุข) ชุดที่ 3 เรื่อง มงคล (การไม่คบคนพาล การคบบัณฑิต การบูชาผู้ควรบูชา) ชุดที่ 4 เรื่อง หลักธรรม (ไตรสิกขา กรรมฐาน 2 ปธาน 4 โกศล 3) ชุดการสอนมีประสิทธิภาพโดยรวมเท่ากับ 81.17/82.17 สูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐานที่กำหนดไว้ คือ 80/80 (2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลัง เรียนด้วยชุดการสอนแบบรายบุคคลเรื่องหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียนด้วยชุดการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ความพึงพอใจใน ภาพรวมของนักเรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบรายบุคคล เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา อยู่ใน ระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--เพชรบุรี | th_TH |
dc.title | ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยวิธีอุปนัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพรหมานุสรณ์ จังหวัดเพชรบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of mathematics learning activities using the inductive approach on mathematics learning achievement in the topic of relation and function of Mathayom Suksa IV students at Prommanusorn School in Phetchaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to develop an individualized instructional package on the topic of Buddhist Dhamma Principles for Mathayom Suksa I students at Srivichai Wittaya School in Nakhon Pathom province; (2) to compare learning achievements of Mathayom Suksa I students before and after learning from the individualized instructional package on the topic of Buddhist Dhamma Principles; and (3) to study the satisfaction of the students with the individualized instructional package on the topic of Buddhist Dhamma Principles. The reseach sample consisted of 30 Mathayom Suksa I students studying in the second semester of the 2012 academic year at Srivichai Wittaya School in Nakhon Pathom province, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) an individualized instructional package comprising four learning units; (2) an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to assess the student’s satisfaction with the instructional package on the topic of Buddhis Dhamma Principles. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed instructional package comprised four learning units, namely, Unit 1: Ratanattaya; Unit 2: Dhamma Principles (Khandha 5, Kamma, Apayamukha, Sukha 2, Gihisukha); Unit 3: Mangala (Refraining from association with bad people, Association with learned people, Respecting those who should be respected); and Unit 4: Dhamma Principles (Sikkhattaya, Kammatthana 2, Padhana 4, Kosalla 3); the developed instructional package as a whole was efficient at 81.17/82.17, which was higher than the set 80/80 efficiency criterion; (2) the post-learning achievement of Mathayom Suksa I students who learned from the individualized instructional package on the topic of Buddhist Dhamma principles was significantly higher than their pre-learning achievement at the .01 level; and (3) the overall satisfaction of the students with the individualized instructional package on the topic of Buddhist Dhamma Principles was at the high level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_139383.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 25.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License