Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัฎฐิญา สิริบวรพิพัฒน์th_TH
dc.contributor.authorมงคล รุ่งสว่าง, 2508-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T01:51:56Z-
dc.date.available2023-03-14T01:51:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4155en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาในสามประเด็นสำคัญ คือ ประการแรก ศึกษาหลักกฎหมายและกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ของข้าราชการครู ประการที่สอง ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการอุทธรณ์ การพิจารณาอุทธรณ์ตามหลักเกณฑ์การอุทธรณ์และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ และประการสุดท้าย เสนอแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาอันจะเป็นหลักประกันให้ข้าราชการครูได้รับความเป็นธรรมและเหมาะสม การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีระเบียบวิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสารโดยศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องวินัยและการอุทธรณ์ของข้าราชการครู เช่น พระราชบัญญัติ กฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ หนังสือ ตำรา วิทยานิพนธ์ เอกสารทางวิชาการ นอกจากนี้ยังได้ศึกษาจากคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล คำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ การศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้จากการศึกษาค้นคว้าพบว่าในปัจจุบันข้าราชการครูยังไม่ได้รับหลักประกันในความมั่นคงและความเป็นธรรมอย่างเพียงพอ ซึ่งจากการศึกษาค้นคว้าสรุปพบปัญหาที่สำคัญ 3 ประการ ประการแรกปัญหาที่เกิดจากตัวบทกฎหมาย เช่นการไม่เปิดโอกาสให้ผู้อื่นอุทธรณ์แทนหรือมอบหมายให้ผู้อื่นยื่นอุทธรณ์แทน ซึ่งถือว่าไม่เป็นธรรมแก่ข้าราชการครูที่ถูกคำสั่งลงโทษทางวินัย เป็นต้น ประการที่สองปัญหาที่เกิดจากผู้อุทธรณ์ที่ขาดความรู้ความเข้าใจในกฎหมายเกี่ยวกับการอุทธรณ์ และประการที่สามปัญหาที่เกิดจากองค์กรผู้พิจารณาอุทธรณ์ที่จะต้องไม่มีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณาวินิจฉัยจะต้องมีความเป็นกลาง วินิจฉัยโดยความเที่ยงธรรม ซึ่งต้องไม่ขัดกับความยุติธรรมตามธรรมชาติ ดังนั้นจึงเห็นว่า ควรแก้ไข กฎหมาย กฎ หรือระเบียบที่เกี่ยวข้องให้เกิดความสอดคล้องกับความยุติธรรมตามธรรมชาติอันจะเป็นผลดีสืบไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครู--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหาการอุทธรณ์คำสั่งลงโทษทางวินัยข้าราชการครูth_TH
dc.title.alternativeProblem in appealing the discipline punishment orders of government official teachersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to examine three main points. Firstly, it was to study the provisions, rules, appeal procedures and appeal consideration of government official teachers. Secondly, it was to study problems and obstacles from such appealing process. Lastly, it was to find out suitable solutions to solve those problems in order to provide guarantee measures for fairness to government official teachers. This research was a qualitative research conducted through documentary research by studying from law, rules, appeal procedures and appeal consideration for government official teachers including document researches related with the discipline and appeals for government official teachers as well as judgments of courts and appeal decisions of the relevant personnel committees. The results of the study have shown that these days the government official teachers have not gotten enough fairness and guarantee measures. According to the study, there were three major problems which were unfair rules. Firstly, there was ignorance of the law and appeal procedures such as the substitute appeals. Secondly, there was lacking of knowledge or understanding of appeal process or rules. Thirdly, some members of an appeal commission may have an interest in the disciplinary breach that contrasts to the principle of natural justice. In conclusions, it should better to amend law and rules to conform with the natural justice for the future better effects.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons