Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4189
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี ประจักษ์ศุภนิติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัตนา ปานภู่ทอง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T03:51:49Z-
dc.date.available2023-03-14T03:51:49Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4189-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ I) ศึกษาระดับของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ กับระดับของการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยนเรศวร และ 3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยนเรศวร ประชากรที่ใชัในการวิจัย คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2550 จำนวน 2,095 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการ จำนวน 154 คน และบุคลากรสายบริการ จำนวน 182 คน เครื่องมึอที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ด้วยมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยผ่านการทดสอบด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ด้วยค่า 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยนเรศวร อยู่ในระดับมาก 2) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ พบว่า ปัจจัยบทุกตัวซึ่งได้แก่ ด้านภาวะผู้นำ ด้านการดำเนินงานด้านการจัดการ ด้านบรรยากาศในการ ทำงาน ด้านการจูงไจ และด้านเทคโนโลยี มีความสัมพันธ์ทางบวกกับระดับของการเป็นองค์การแห่งการ เรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน 3) ปัจจัยด้านการ จูงใจ บรรยากาศในการทำงาน ประสบการณ์ในการทำงาน ภาวะผู้นำ อายุ และระดับการศึกษา มีอิทธิพล ต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยนเรศวรที่ร้อยละ 78.85th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยนเรศวรth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยนเรศวรth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing Naresuan University to become learning organizationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1) study the level of Learning Organization of Naresuan University 2) study the factors that influenced Naresuan University to become Learning Organization and 3) study the correlation between influencing factors and level of Learning Organization of Naresuan University. The population in this study were 2,095 staff of Naresuan University in academic year 2007. Stratify random was applied with the result of 154 samples from teaching staff and 182 from service staff. Instrument used was 5 rating scales questionnaire with 0.84 Cronbach’s Alpha reliability test. Statistical tools employed to analyze the data were Mean, Standard Deviation, Pearson Correlation Coefficient, and Multiple Regression Analysis. The results of the research could be concluded as follows: 1) the level of Learning Organization of Naresuan University was at high level 2) as for the study of the factors that influenced Naresuan University to become Learning Organization, it was found that all factors which were motivation, work atmosphere, job experience, leadership, age of staff, and staff educational background had positive relations with the level of being Learning Organization at .01 level of significant, the trend of their relations appeared in the same direction. 3) the following factors: motivation, work atmosphere, leadership, age of staff, and staff educational background showed influence on becoming Learning Organization of Naresuan University at 78.85 percenten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105666.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons