Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4218
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียรth_TH
dc.contributor.authorพนาวรรณ อินธิแสง, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-14T06:54:09Z-
dc.date.available2023-03-14T06:54:09Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4218en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครังนี้มีวัตถุประสงค์(1) เพื่อศึกษาสภาพการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมา ใช้พัฒนาคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต1 (2) เพื่อศึกษาปัญหาการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 และ (3) เพื่อเสนอแนวทางการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ในการดำเนินการวิจัยครั้งนี้ ประชากรได้แก่ เจ้าหน้าที่พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 ที่รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองจำนวน 176 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย และกำหนดกลุ่มตัวอย่างจากตาราง Krejcie and Morgan ได้จำนวน 121 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการนำผลการประเมินคุณภาพภาย นอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มี 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามแบบมาตราค่า 7 ระดับ (GraphicRating Scale) ตอนที่ 2 และตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ แบบสอบถามมีค่าความเที่ยง เท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช์วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยปรากฎว่า (1) สถานศึกษา มีการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก (X = 4.54) ด้านที่มีการปฎิบัติมากที่สุด คือ ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา รองลงมาคือ ด้านการควบคุมคุณภาพการศึกษา และการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามลำดับ (2) สถานศึกษามีปัญหาในการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษา อันดับแรกคือ ด้านการควบคุมคุณภาพการศึกษา มีปัญหาร้อยละ 64.13 รองลงมาคือด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา และด้านการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาการศึกษา ตามลำดับ และ (3) สถานศึกษาเสนอแนวทางในการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอันดับแรก คือ ด้านการนำผลการประเมินมาปรับปรุง เสนอเป็นแนวทางร้อยละ 69.83 รองลงมาคือ ด้านการดำเนินการตามแผน ด้านการวางแผนการปฏิบัติงาน และด้านการตรวจสอบประเมินผล ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษา--การประเมินth_TH
dc.subjectโรงเรียน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--ศึกษาศาสตร์th_TH
dc.titleการนำผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สองมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1th_TH
dc.title.alternativeUse of second round of external quality evaluation results to develop the quality of schools under the office of Sakon Nakhon Primary Education Service Area 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the condition of using the second round of external quality evaluation results to develop the quality of schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Education Service Areal; (2) to study problems of using the second round of external quality evaluation results to develop the quality of schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Education Service Area 1; and (3) to propose guidelines for using the second round of external quality evaluation results to develop the quality of schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Education Service Area 1. The research population comprised 176 personnel responsible for educational quality development of schools under the Office of Sakon Nakhon Primary Education Sendee Area 1 that received the second round of external quality evaluation. The research sample consisted of 121 randomly selected personnel from the above-mentioned population. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research instrument was a questionnaire on the use of second round of external quality evaluation results to develop the quality of school. It was composed of three parts. Part 1 was a 7-scale graphic rating questionnaire; while Part 2 and Part 3 were multiple- choice questionnaires. The reliability coefficient for the whole questionnaire was .87. Statistics employed for data analysis were the frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that (1) the schools used the second round of external quality evaluation results to develop their quality at the high level (rating mean = 4.54); the aspect with the highest level of application was that of educational quality evaluation, followed by that of educational quality control and that of educational quality monitoring, respectively; (2) the schools had problems in using the second round of external quality evaluation results to develop their quality; the aspect with the highest level of problems was that of educational quality control m which 64.13 percent of the total number of schools having the problems, followed by that of educational quality control and that of educational quality monitoring, respectively; and (3) the schools proposed guidelines for using the second round of external quality evaluation results to develop their quality; the top aspect พInch was proposed by 69.83 percent of the total number of schools was that of using evaluation results for quality’ improvement, followed by that of using the results for operation based on the plans, that of using the results for operation planning, and that of using the results for monitoring and evaluation, respectively.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130368.pdf14.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons