Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4261
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ทรงธรรม ควรสุวรรณ, 2517- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T01:42:25Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T01:42:25Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4261 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบฝึกทักษะการคำนวณเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ก่อนและหลังใช้ แบบฝึกทักษะการคำนวณเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์ และ (3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ร้องการเคลื่อนที่แนวตรง ก่อนและหลังใช้แบบฝึกทักษะการคำนวนเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ จังหวัดลำปาง จำนวน 40 คน จากการสุ่มแบบกลุ่ม 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบฝึกทักษะการคำนวณเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์ (2) แบบทดสอบวัดความสามารถ ในการแก้โจทย์ปัญหา และ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ ชนิดที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E E, ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบฝึกทักษะการคำนวนเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์ มีประสิทธิภาพ 77.74/76.88 (2) ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการ คํานวน องต้นสําหรับฟิสิกส์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะคับ .05 และ (3) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ของนักเรียนหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการ คํานวณเบี้องต้นสําหรับฟิสิกส์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--ฟิสิกส์ | th_TH |
dc.title | ผลการใช้แบบฝึกทักษะการคำนวณเบื้องต้นสำหรับฟิสิกส์ที่มีผลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประชารัฐธรรมคุณ จังหวัดลำปาง | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using basic computation skill exercises in physics on word problem solving ability and physics learning achievement in the topic of linear motion of Mathayom Suksa IV students at Pracharatthammakhun School in Lampang Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | วิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were (1) to construct basic computation skills exercises in physics based on the 75/75 efficiency criterion; (2) to compare word problem solving abilities of the students before and after using the basic computation skill exercises; and (3) to compare learning achievements in the topic of Linear Motion of the students before and after using the basic computation skill exercises.The sample of this study consisted of 40 Mathayom Suksa IV students in an intact classroom of Pracharatthamkhun School in Lampang province during the second semester of the 2012 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) basic computation skill exercises in physics, (2) a word problem solving ability test, and (3) a physics learning achievement test. Statistics employed for data analysis were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test.The research findings showed that (1) the basic computation skills exercises in physics was efficient at 77.47/76.88; (2) the post-learning problem solving ability of the students after using basic computation skills exercises in physics was significantly higher than their pre-learning ability at the .05 level, and (3) the post-learning physics learning achievement of the students after using basic computation skills exercises in physics was significantly higher than their pre-learning achievement at the .05 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_134664.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License