Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4264
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธิตินันท์ นาจาน, 2530- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T01:51:36Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T01:51:36Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4264 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นกล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ที่ใช้กลวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ กับที่เรียนภายใต้วิธีสอนแบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อการ เรียนวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้แบบ 5E ที่ใช้กลวิธีการ สอนวิทยาศาสตร์ กับทีเรียนภายใต้วิธีสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทั้งหมด 2 ห้องเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบ กลุ่ม จำนวน 90 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี แล้วสุ่มให้เป็น กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นกล สำหรับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E โดยใช้กลวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ และ แผนการจัดการเรียนรู้สำหรับการสอนแบบปกติ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นกล และ 3) แบบวัดเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง คลื่นกล ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ที่ใช้กลวิธีการสอน วิทยาศาสตร์ สูงกว่าของกลุ่มที่เรียนภายใต้วิธีสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) เจตคติ ต่อวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนภายใต้การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้แบบ 5E ที่ใช้กลวิธีการสอนวิทยาศาสตร์ สูงกว่าของกลุ่มที่เรียนภายใต้วิธีสอนแบบปกติอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--นนทบุรี | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E ที่ใช้กลวิธีการสอนทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคลื่นกล และเจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of the 5E inquiry instructional management approach using science teaching strategies on learning achievement in the topic of mechanical wave and attitude toward physics of Mathayom Suksa V students at Pak Kret School in Nonthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were as follows: (1) to compare the Physics learning achievement in the topic of Mechanical Wave of the students who learned under the 5E inquiry instructional management approach using science teaching strategies and that of the students who learned under the conventional teaching approach; and (2) to compare attitude toward physics of the students who learned under the 5E inquiry instructional management approach using science teaching strategies and that of the students who learned under the conventional teaching approach. The research sample consisted of 90 Mathayom Suksa V students in two intact classrooms of Pakkret School in Nonthaburi Province, during the second semester of the 2013 academic year, obtained by cluster sampling. One of the classrooms was randomly assigned as the experimental group; the other classroom, the control group. The instruments used were (1) learning managment plans for the 5E inquiry instructional management approach using science teaching strategies; (2) learning management plans for the conventional teaching approach; (3) a physics learning achievement test on the topic pf Mechanical Wave; and (4) a scale to assess attitude toward physics. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings were (1) the physics learning schievement in the topic of Mechanical Wave of the students who learned under the 5E inquiry instructional management approach using science teaching strategies was significantly higher than that of the students who learned under the conventional teaching approach at the .01 level; and (2) the attitude toward physics of the students who learned under the 5E inquiry instructional management approach using science teaching strategies was significantly higher than that of the students who learned under the conventional teaching approach at the .01 level. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_134763.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License