Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4265
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรเชษฐ์ นรเอี่ยม, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T01:57:30Z-
dc.date.available2023-03-15T01:57:30Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4265-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องหลักความเสมอภาคของชายหญิงตามรัฐธรรมนูญ : กรณีศึกษาการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีคู่สมรสตามประมวลรัษฎากรมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากฎหมายการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในกรณีคู่สมรสตามประมวลรัษฎากร และการรับรองสิทธิตามหลักความเสมอภาคของชายหญิง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ศึกษาถึงแนวทางการปรับปรุงบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร กรณีการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากคู่สมรสให้มีความเป็นธรรมและเสมอภาค สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ และสังคมปัจจุบัน เพื่อส่งเสริมความสมัครใจในการเสียภาษี การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยวิธีการวิจัย ทางเอกสาร (Documentary research) โดยการศึกษาจากตำรากฎหมาย คำพิพากษา บทความ วิทยานิพนธ์ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต และประสบการณ์จากการปฏิบัติราชการกรมสรรพากร เพื่อทำการวิเคราะห์ประเด็นปัญหา ผลการศึกษาพบว่าการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากกรณีคู่สมรสตามประมวลรัษฎากร ในปีภาษี 2490 เป็นไปตามบทบัญญัติมาตรา 57 ตรี ให้การจัดเก็บภาษีกรณีคู่สมรสจะเป็นหน่วยภาษีคู่สมรส โดยเงินได้ของภริยาถือเป็นเงินได้ของสามีกำหนดให้ต้องยื่นแบบรวมกันในนามสามี และปีภาษี 2529 เพิ่มหลักเกณฑ์ตามมาตรา ม.57 เบญจ ภริยามีสิทธิจะแยกยื่นแบบแสดงรายการและเสียภาษีต่างหากจากสามีเฉพาะส่วนที่เป็นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) โดยมิให้ถือว่าเป็นเงินได้ของสามีก็ได้ ต่อมาปีภาษี 2555 ได้มีการแก้ไขกฎหมายเพื่อการรับรองสิทธิของบุคคลและความเสมอภาคของชายหญิง ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยยกเลิกบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ตรี และมาตรา ม.57 เบญจ เนื่องจากขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 30 และได้มีการแก้ไขกฎหมายการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากกรณีคู่สมรส ให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 57 ฉ ได้กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการยื่นแบบโดยเพิ่มทางเลือกให้กับผู้เสียภาษีกรณีคู่สมรสมีสิทธิเลือกวิธีการยื่นแบบได้ 5 วิธี ไม่ว่าคู่สมรสยื่นแบบรวมกันทุกประเภทของเงินได้ หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเลือกแยกยื่นเฉพาะเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือต่างฝ่ายต่างแยกยื่นแบบทุกประเภทของเงินได้ รวมถึงบทบัญญัติมาตรา 57 ฉ ได้กำหนดหลักเกณฑ์การแบ่งแยกเงินได้ของคู่สมรส ในกรณีที่เงินได้ไม่อาจแยกได้อย่างชัดแจ้งว่าเป็นของสามีหรือภริยาแต่ละฝ่ายจำนวนเท่าใด ให้ถือเป็นเงินได้มาตรา 40 (2) - (7) ของสามีและภริยาฝ่ายละกึ่งหนึ่ง ส่วนเงินได้ตามมาตรา 40 (8) สามีและภริยาจะแบ่งเงินได้เป็นของแต่ละฝ่ายตามส่วนที่ตกลงกันก็ได้ แต่รวมกันต้องไม่น้อยกว่าเงินได้พึงประเมินที่ได้รับ ถ้าตกลงกันไม่ได้ ให้ถือเป็นเงินได้ของสามีและภริยาฝ่ายละกึ่งหนึ่ง และเมื่อได้เลือกยื่นรายการตามส่วนที่ตกลงในปีภาษีใดแล้ว ให้ถือว่าเป็นวิธีการยื่นรายการสาหรับปีภาษีนั้นตลอดไป เว้นแต่ได้รับอนุมัติจากอธิบดี ซึ่งการเปลี่ยนแปลงกฎหมายนี้ส่งผลกระทบให้เกิดความยุ่งยากในการดำเนินธุรกรรมทางภาษี ไม่ส่งเสริมความสมัครใจในการเสียภาษี เห็นควรปรับปรุงแก้ไขให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดเก็บภาษีth_TH
dc.subjectภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาth_TH
dc.titleหลักความเสมอภาคของชายหญิงตามรัฐธรรมนูญ : กรณีศึกษาการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีคู่สมรสตามประมวลรัษฎากรth_TH
dc.title.alternativeThe equality of men and women under the constitution. : a case study of the personal income tax for spouse under the revenue codeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study entitle The Equality of Men and Women under the Constitution. : A Case Study of the Personal Income Tax for Spouse under the Revenue Code. were to study the collection of personal income tax for spouse under the Revenue Code and the rights guaranteed on the equality of men and women under the Constitution of the Kingdom of Thailand, to study guildlines to improve the provision of personal income tax revenue which collected from the spouse for fairness, equality and in line with current economic and social conditions for voluntary tax payment. The independent study was the qualitative research by using Documentary research from related legal texts, lawful judgments, articles, thesis, internet information and work experience in the Revenue Department to analyze the issues. The results of the study showed that the collection of personal income tax from spouses according to the Revenue Code in fiscal year 1974 be according to the provisions of the Section 57 Ter by counting the spouse as the same unit, wife’s income was husband’s income, defined to apply together on behalf husband’s name. In the year 1986, Section 57 Quinque was added for the rule that wife entitled to file and pay tax separated from husband on her income under the Section 40(1), not husband’s income. In the year 2012, Section 57 Ter and 57 Quinque were repealed by the amendment of legislation to guarantee the rights of the individual and the equality of men and women under the Constitution in the Kingdom of Thailand Section 30. The personal income tax for spouse was also amended for the purpuse Section 57 Sex stated the guidelines to file by adding 5 options for the spouse tax payer can choose, whether the spouse file a combination of all types of income or any party to file a separate income under Section 40(1) or more separate parties to file all of their money. Section 57 Sex also defined the rule to clarify spouse’s income in case the money can not be isolated, how much income of husband or wife was considered as income under the Section 40(2)-(7) by divided in two equally parts. Income under the Section 40(8), husband and wife may share the money by agreement each but shall not be less than the total amount of assessable income receive, if no agreement, it shall be considered as income of husband and wife. When taxpayers no agreement, it selected any way to fill, it will be considered as the way to submit items permanently unless any approval from the Director. The changes in this, however, effected the transaction of tax that not support the voluntary tax payment so that should be amendeden_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons