Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4272
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ กรรษา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T02:17:12Z-
dc.date.available2023-03-15T02:17:12Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4272-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ พอเพียงของประชาชนดำบลกกกุง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด (2) ระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนตำบลกกกุง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนิน ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบลกกกุง อำเภอเมืองสรวง จังหวัด ร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างได้แก่ประชาชน 11 หมู่บ้าน ในเขตตำบลกกกุง อำเภอเมืองสรวง จังหวัด ร้อยเอ็ด จำนวน 284 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ เกึบรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและการวิเคราะห์การจัดกลุ่มพทุคูณ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (1) มีการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ระดับสูง (ร้อยละ 69.0) ระดับสูงที่สุด (ร้อยละ 24.3) และระดับปานกลาง (ร้อยละ 6.3) ตามลำตับ (2) มีคุณภาพชีวิตระดับสูง (ร้อยละ67.6) ระดับสูงที่สุด (ร้อยละ23.2) และระดับปานกลาง (ร้อยละ 9.2) ตามลำดับ (3) ปัจจัยด้านการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วยความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้และมีคุณธรรม มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนตำบลกกกุง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ด และสามารถอธิบายคุณภาพชีวิตได้ ร้อยละ 59 อย่างมีนัยสัาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยด้านคุณธรรมสามารถอธิบายความ แปรปรวนคุณภาพชีวิตได้ดีกว่าปัจจัยด้านมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีด้านมีดวามรู้ด้านความพอประมาณ และด้านความมีเหตุผลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.240-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิต--ไทย--ร้อยเอ็ดth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.subjectการดำเนินชีวิต--แง่เศรษฐกิจth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง กับคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบลกกกุง อำเภอเมืองสรวง จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeRelationship between self-sufficient economy living and quality of life of people in Kokkung Sub-District, Mueang Suang District, Roi-Et Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.240-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the level of self-sufficient economy of people in Kokkung sub-district, Mueang Suang district, Roi-Et province; (2) study quality level of life people in Kokkung sub-district, Mueang Suang district, Roi-Et province; (3) study the relationship between self-sufficient economy living and the quality of life of people in Kokkung sub-district, Mueang Suang district, Roi-Et province. The sample consisted of 284 people in Kokkung sub-district, Mueang Suang district, Roi-Et province were selected by simple random sampling. The data were collected by questionnaire . Statistical techniques of percentage, frequency, mean, standard deviation and Multiple Classification Analysis were used to analyze the obtained data. Results revealed the percentages of samples as (1) self- sufficient economy living at high, highest and normal levels were 69.0, 24.3 and 6.3 respectively (2) quality of life at high, highest and normal levels were 67.6, 23.2 and 9.2 respectively. (3) self- sufficient economy living factors there is manner relation adds with the quality of life of people in Kokkung sub-district, Mueang Suang district, Roi-Et province. The Morality factor could explain the variation of quality of life better than the other factors of self-immunity, knowledge, moderation and reasonableness. All factors could predict the quality of life of people in Kokkung sub-district, Mueang Suang district, Roi-Et province 59 percentage at .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105690.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons