Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4306
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุมพล หนิมพานิช | th_TH |
dc.contributor.author | บุญน้อม ศิลาอาสน์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T03:31:05Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T03:31:05Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4306 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพึ่อศึกษาระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมเครือข่ายองค์กรชุมชนในการทำงานแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน (2) เพึ่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของ เครือข่ายองค์กรชุมชนในการทำงานร่วมกับภาคีการพัฒนาและ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางและวิธีปฏิบัติงานของเครือข่ายองค์กรชุมชนในการแก้ไขปัญหาความยากจนให์มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กลุ่มตัวอย่างเครือข่ายองค์กรชุมชน 18 เครือข่าย ขนาดของตัวอย่างใช้ตารางสำเร็จรูปของยามาเน (Yamane) ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซนต์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามคณะกรรมการและสมาชิกเครือข่ายจำนวน 400 คน แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจนระดับ จังหวัด สถิตที่ใช้ในการทดสอบความเชื่อถือของคำถามและคำตอบใช้เทคนิคสัมประสิทธิ์อัลฟ่า (Cronbach’s Alpha) ได้คำ Alpha = .9596 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใชัโปรแกรมสำเร็จรูป ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน และข้อมูลคุณภาพใช้วิเคราะห์เนี้อหาผลการทดสอบสมมตฐานที่ 1 โดยใช้ t-lest พบว่าความสำเร็จการมีส่วนร่วมของเครือข่ายองค์กรชุมชนต่อการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยึนจังหวัดตราด ต่ำกว่าร้อยละ 80 เป็นการปฏิเสธสมมติฐาน (P=.000, t = -19.257) สมมตฐานที่ 2 ปัจจัยที่ประกอบไปด้วย แรงจูงใจ การได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจน การได้รับสนับสนุนทรัพยากร การมีส่วนร่วมของประชาชน มือิทธิพลต่อ ความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของเครือข่ายองค์กรชุมชนในการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนจังหวัดตราด ใช้วิเคราะห์เชิงถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน (Regression Model stepwise) สามารถอธิบายความผันแปรประสิทธิผลการมีส่วนร่วนของเครือข่ายองค์กรชุมชนต่อการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยึนจังหวัดตราด ได้ร้อยละ 57.3 โดยมีนัยสำคัญทางสถิต ณ ระดับ .05 (R2 = .573 , P = .000)ข้อเสนอแนะ ผลการวิจัย การมีส่วนร่วมของเครือข่ายองค์กรชุมชนอยู่ในระดับดี จงควรสนับสนุนการมีส่วนร่วมโดย ด้านแรงจูงใจ ควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน จัดสวัสดิการ เช่น จัดให้มีค่ารักษาพยาบาล ค่าณาปณกิจศพ ค่าตอบแทน ให้รางวัล และประกาศเกียรติคุณ ยกย่องชมเชย ด้านการได้รับความรู้ความเข้าใจเที่ยวกับนโยบาย ควรมีการ จัดประชุมสัมมนาเจ้าหนัาที่ให้ทราบถึงนโยบายในการปฏิบัติงานและทำงานร่วมกับเครือข่าย ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร มีบทเรืยนตัวอย่างที่ดี ( Best Practice) ติดตามและประเมินผลงาน ด้านทรัพยากร สนับสนุนทรัพยากร ได้แก่ งบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ตามความเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานและทันต่อเวลาที่จะใช้กระตุ้นให้มีการนำทรัพยากรไปใช้ให์เกิดประโยชน์สูงสุด ดัดแปลงทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนให์สอดรับกับแผนงานโครงการ ช่วยเหลือทางด้านเงินทุน สนับสนุนเทคโนโลยึที่ทันสมัย ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนทัองถิ่น หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนกระตุ้น/สนับสมุนให์ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเปิดโอกาสให์ทุกคนและทุกกลุ่มในชุมชนเข้าร่วม อาจจะอยู่ในรูปของการมีส่วนร่วมโดยตรงหรือโดยมีตัวแทนกีได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.332 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เครือข่ายองค์กรชุมชน | th_TH |
dc.subject | ความจน--ไทย--ตราด | th_TH |
dc.title | การมีส่วนร่วมของเครือข่ายองค์กรชุมชนในการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน จังหวัดตราด | th_TH |
dc.title.alternative | Participation of community networks in sustainable poverty problem solving og Trat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.332 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.332 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to (I) study the success level of the participation of community networks in sustainable poverty problem solving, (2) study factors effecting the success of the cooperation between community network and developmental officials, and (3) recommend appropriate approach and procedures for the community networks to solve poverty problems more effectively Samples were 18 community networks drawn from Yamane table with 95% confidential level.Instruments employed were questionnaire used with committee members and 400 network members, and interview to be used with provincial policy makers who were involved with poverty problem solving in provincial level. Cronbach’s Alpha which was applied for reliability test was at .9596. The quantitative data was analyzed via computer program.Statistical tools were percentage, means, standard deviations, and regression model stepwise. Content analysis was usedto analyze qualitative data.The research result revealed that ะ by testing Hypothesis 1 with t-test, it was found that the success of the participation of community network on sustainable poverty problem solving of Trat province was lower than 80%,Hypothesis 1 was then denied (P- OOO,t=-19.257), Hypothesis 2: factors consisted of motivation, understanding of poverty problem solving policy, supporting on resources, public participation, affected the success of the participation of community network in sustainable poverty problem solving, which was analyzed with regression model stepwise, could explain the variation of the effectiveness of the participation of community network in sustainable poverty problem solving in Trat province at 57.3% with level of significance at 0.5 (RJ = .573, p = .000).The recommendations from the research were the followings: since the participation of community networks in sustainable poverty problem solving of Trat province was at good level, therefore, it should be supported, particularly in motivation aspect: people morale should be built via welfare provision such as health benefits, cremation fund, allowances, award and recognition certificate, as for knowledge and understanding on policy, seminars should be organized for the working teams to inform them of the policy on working and cooperating with other community networks, there should be publication and dissemination of information involved, and also identification of best practice cases, including follow-up and assessment of network performance, as for resources, the networks should be supported in time with appropriate resources such as monetary funds and necessary inventories, the working team should be encouraged to optimize the use of existing resources, utilize the resources with accordance to the project plan, raise funds from the community, bring in use modern technologies, ask for supported budget from local administration organizations or other entities involved in people’s participation, encourage the community to participate and provide opportunities for every member and group in the community who could participate either directly or sending representatives. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
105693.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License