Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4312
Title: ผลการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่นที่มีต่อความสามารถด้านการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลยางชุมน้อย (หน่วยคุรุราษฎร์รังสรรค์) จังหวัดศรีสะเกษ
Other Titles: The effects of local animals survey playing activities on communicative speaking ability of preschool children at Anuban Yangchum Noi (Nuay Kururasrungsun) school in Si Sa Ket Province
Authors: วัฒนา มัคคสมัน, อาจารย์ที่ปรึกษา
ชลิลลา บุษบงก์, 2494-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี
เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--กิจกรรมการเรียนการสอน
เด็กวัยก่อนเข้าเรียน--การสื่อสาร
การศึกษาอิสระ--หลักสูตรและการสอน
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการพูดสื่อความหมาย ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างคือเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนอนุบาลยางชุมน้อย (หน่วยคุรุราษฎร์รังสรรค์) จังหวัดศรีสะเกษ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 22 คน ได้มา โดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่นและ แบบวัดความสามารถด้านการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถด้านการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยในภาพรวม หลังการจัดกิจกรรมเล่นสำรวจสัตว์ท้องถิ่นสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 เมื่อพิจารณาความสามารถในการพูดสื่อความหมายของเด็กปฐมวัยเป็นรายด้าน คะแนน เฉลี่ยด้านการพูดคำศัพท์ ด้านการพูดเป็นประโยค ด้านการพูดเรียงลำดับเหตุการณ์ และด้านการพูด เล่าเรื่องราว หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4312
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130113.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons