Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4328
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เก็จกนก เอื้อวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | พิทรัตน์ บรรจงงาม, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T04:40:42Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T04:40:42Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4328 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในอำเภอหนองบัวระเหว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 และ (2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาจำแนกตามขนาดสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูผู้สอนในอำเภอหนองบัวระเหว สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนของสถานศึกษาในอำเภอหนองบัวระเหว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 จำนวน 161 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยปรากฎว่า (1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอหนองบัวระเหว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ด้านการกำหนดเป้าหมายของสถานศึกษา ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการจัดให้มีสิ่งจู งใจให้กับครู และ (2)ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกันมีภาวะผู้นำทางวิชาการไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการนิเทศ และประเมินผลการสอน ด้านการควบคุมการใช้เวลาในการสอน และด้านการจัดให้มีสิ่งจูงใจให้กับครู โดยผู้บริหารสถานศึกษาขนาดใหญ่มีภาวะผู้นำทางวิชาการสูงกว่าผู้บริหารสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดเล็ก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.title | ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอหนองบัวระเหว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3 | th_TH |
dc.title.alternative | Academic leadership of school administrators in Nong Bua Rawe District under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 3 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study academic leadership of school administrators as perceived by teachers in Nong Bua Rawe district under Chaityaphum Primary Education Service Area Office 3; and (2) to compare academic leadership levels of school administrators classified by school size, as perceived by teachers in Nong Bua Rawe district under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 3. The research sample consisted of 161 school teachers in Nong Bua Rawe district under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 3. The employed research instrument was a questionnaire with reliability coefficient of .94. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and one-way analysis of variance. Research findings revealed that (1) the overall academic leadership of school administrators in Nong Bua Rawe district under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 3 was rated at the high level; when academic leadership levels in specific dimensions were considered, it was found that then- academic leadership in every' dimension was at die high level; the dimension with the highest rating mean for academic leadership was that of setting up the school goal, while the one with the lowest rating mean was that of provision of motivation for teachers; and (2) as for results of comparison of academic leadership levels of school administrators in Nong Bua Rawe district under Chaiyaphum Primary Education Service Area Office 3 as classified by school size, it was found that administrators of schools with different sizes did not significantly differ in their levels of overall academic leadership; however, when their levels of academic leadership in specific dimensions were compared, significant differences at the .05 level were found in three dimensions, namely, supervision and instructional evaluation, controlling the teacher’s teaching time, and provision of motivation for teachers, with academic leadership of school administrators of large schools being rated significantly higher than those of administrators of medium size and small schools. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
full_text145420.pdf | 14.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License