Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปิยะวรรณ มารวิชัย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T04:56:02Z-
dc.date.available2023-03-15T04:56:02Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4329-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนึ้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของพนักงาน บริษัท อีชี่ บาย จำกัด (มหาขน) (2) เพื่อรักษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท อีชี่ บาย จำกัด (มหาชน) (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการเสริมสรัาง ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท อีชี่ บาย จำกัด (มหาชน) การวิชัยครั้งนึ้ไชัวิธิการวิชัยเชิงสำรวจ กสุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัท อีชี่ บาย จำกัด (มหาชน) จำนวน 336 คน เครื่องมีอที่ใช้เป็นแบบสอบถาม โดยใช้มาตรประมาณค่าแบบ ลิเคริด การวิเคราะห์ขัอมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาดรฐาน การทดสอบสมมุิฐาน โดยใช้ค่าสถิติและค่าสหสัมพันธ์เพียร์สันด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย (1) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน พนักงานมีความคิดเห็นว่า ประสิทธิภาพการปฎิบัติงานอยู่ในระดับสูง (ตามความรับรู้ของพนักงาน) โดยให์ระดับความคิดเห็น ด้านการปฏิบัติงานตรงตามวัตถุประสงค์ที่องค์กรกำหนดไวั มีค่าเฉลี่ยเป็นอันดับหนึ่ง (2) ปัจจัย สภาพแวดล้อมในการทำงานมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในทิศ ทางบวก ในระดับต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 คือ ถ้าปัจจัยสภาพ แวดล้อมดี ก็ส่งผล ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฎิบัติงาน ในเรึ่องของปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ ตำแหน่งงาน และระดับเงินเดีอน รวมถึงปัจจัยสภาพ แวดล้อมต่างกันก็ส่งผลต่อระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่ต่างกัน (3) ผู้บริหารควรพิจารณา ปัจจัยและบริหารปัจจัยเพื่อใช้เป็นตัวกระตุ้นให์พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทอีซี่ บาย จำกัด (มหาชน)--พนักงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทอีซี่ บาย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeFactors effecting efficiency employee performance of EASY BUY Public Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were threefold: (1) to study the level of efficiency employee performance of the EASY BUY Public Company Limited; (2) to study the factors that have an effect on officer’s working efficiency of the EASY BUY Public Company Limited; (3) to study the suggestion and improvement which enables employee’s working efficiency of the EASY BUY Public Company Limited. The study was a survey research. The number of sampling groups in this research was 336 participants who are employee of EASY BUY Public Company Limited. The research tool for this study was the questionnaire. For data analysis, the researcher used Likert Scales and folIowing statistical methods: percentage, mean, standards deviation and Pearson Correlation Coefficient by software. The research result showed (1) that the employee have height performance, (following the acknowledges of employee) Regarding the opinions on the working by objectives of the organization, the average was at the first level. (2) From the study, the environment factors showed the positive correlation at 0.05 which is significant. The significance of the correlation showed that the employee performance had an effect on the higher level of employee’s efficiency. From hypothesis test about the individual factor the research result showed that the gender, the position, the salary and the environment factors effecting efficiency employee performance. (3) The executive should consider the factors and administrate them for use to encourage the employee working efficiencyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105695.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons