Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4364
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิชยานนท์ ไพโรจน์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T07:10:21Z-
dc.date.available2023-03-15T07:10:21Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4364-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะงานวิจัยด้านการบริหารวิชาการในสถานศึกษาของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงปี 2547-2556 และ (2) วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานวิทยานิพนธ์ เรื่องการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ของมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงปี พ.ศ. 2547-2556 โดยได้จากการสืบค้นจากฐานข้อมูลเอกสารฉบับเดิมเครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์งานวิจัย ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และการสังเคราะห์เนี้อหาผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ในช่วงปี พ.ศ. 2547 - 2556 วิทยานิพนธ์และการค้นควัาอิสระที่สำรวจได้มีจำนวน 167 เรื่อง เป็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคามมากที่สุด คือจำนวน 27 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 16.17 ปีที่พิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์มากที่สุด คือ ปี พ.ศ. 2551 มีจำนวน 27 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 16.17 ขนาดจำนวนประชากร/กลุ่มตัวอย่างของวิทยานิพนธ์ส่วนมาก คือ จำนวนมากกว่า 200 คน มีจำนวน 120 เรื่อง คิดเป็นร้อย 71.85 และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนมากเป็นแบบสอบถาม มีจำนวน 148 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 88.62 (2) ส่วนใหญ่ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสภาพปัญหาบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาโดยใช้แบบสอบถามมาตร ส่วนประมาณค่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยประเด็นการวิเคราะห์มีความหลากหลาย ทั้งในเรื่องของการวิเคราะห์ตัวแปร กรอบแนวคิด วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ระดับการศึกษาของประชากร และกลุ่มตัวอย่างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิจัยเชิงปริมาณth_TH
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectการบริหารการศึกษาth_TH
dc.titleการวิเคราะห์และสังเคราะห์วิทยานิพนธ์เรื่องการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาของมหาวิทยาลัยของรัฐในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงปี พ.ศ.2547-2556th_TH
dc.title.alternativeThe analysis and synthesis of theses and independent studies on academic affairs administration in school submitted to state universities in the North Eastern Region during B.E. 2547-2556en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to examine characteristics of research studies on Academic Affairs Administration in School submitted as theses or independent studies to state universities in the North Eastern Region during B.E. 2547 - 2556; and (2) to analyze and synthesize the contents of research studies on Academic Affairs Administration in School submitted to state universities in the North Eastern Region during B.E. 2547 - 2556. Data concerning theses and independent studies on the topic were retrieved from the original documentary database of Thai University Libraries Network The employed research instrument was a research analysis form. Data were analyzed using the frequency, percentage, and content synthesis. Research findings showed that (1) during B E. 2547 - 2556, the total number of theses and independent studies on the topic that had been identified was 167 titles; die largest number, 27 titles or 16.17 percent, belonged to students of Maha Sarakham University; the year with the largest number of research studies on the topic being submitted was B.E. 2551, with 27 titles or 16.17 per cent; the majority of studies, 120 titles or 71.85 percent, had research sample of more than 200 subjects- and the majority of studies, 148 titles or 88.62 percent, employed a questionnaire as the data collecting instrument; and (2) regarding the contents of the studies, it was found that the majority of studies had the purposes to study the state and problems of academic affairs administration in school with the use of rating scale questionnaire as the data collecting instrument; basic statistics for data analysis were the frequency, percentage, mean, and standard deviation; various issues were analyzed including analysis of variables, concept framework, methods for selection of research sample, and educational level of the research population and sample.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
full_text148521.pdf23.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons