Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4369
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวโรทัย คามตะศิลา, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T07:23:33Z-
dc.date.available2023-03-15T07:23:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4369-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องปัญหาการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ (1) เกี่ยวกับการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (2) เพื่อศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร ค้นคว้าจากบทความ เอกสาร รวมทั้งพระราชบัญญัติ หนังสือสั่งการและกฎระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ได้บัญญัติเกี่ยวกับการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาไว้อย่างเหมาะสมในระดับหนึ่งแล้ว แต่ควรมีการบัญญัติวิธีการเพิ่มเติม ดังนี้ ควรบัญญัติให้ ก.ค.ศ. กำหนดหลักเกณฑ์การสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้เป็นอำนาจ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการสอบเองได้ทั้งหมดทุกขั้นตอน ได้แก่ การกำหนดสัดส่วนอัตราตำแหน่งว่าง ปฏิทินการดำเนินการสรรหา การออกข้อสอบ รวมทั้งสามารถประมวลผลได้เอง โดย ก.ค.ศ. ต้องไม่ออกหลักเกณฑ์ในการตัดอำนาจในการสรรหาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา และมีหน้าที่ให้คำแนะนาและกำกับดูแลเท่านั้น เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกระจายอำนาจในการบริหารงานบุคคลไปสู่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครู--การคัดเลือกและสรรหาth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา--การคัดเลือกและสรรหาth_TH
dc.titleการสรรหาข้าราชครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดงานเขตพื้นที่การศึกษาth_TH
dc.title.alternativeThe problem recruiting teachers and education personnel office of Educational Service Areaen_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study on the legal problems in recruiting teachers and education personnel to the offices of educational service areas were to study the concepts, theories and principles of (1) the regulations and process of recruiting teachers and educational personnel for the offices of educational service areas; (2) the related legal principles and problems with this recruitment process; and (3) to recommend approaches for improvement. This was a qualitative documentary research based on study of related documents including articles, essays, provision of laws, circular letters and relevant rules. The results showed that the 1999 National Education Act (B.E. 2542) and the 2004 Teacher Civil Service and Educational Personnel Act (B.E. 2547) state rather clear guidelines for recruiting teachers and educational personnel for the Offices of Educational Service Areas, but additional amendments should be made, as follows. The Office of the Teacher Civil Service and Educational Personnel Commission (OTEPC) should transfer the authority of recruiting teachers and educational personnel for the Offices of Educational Service Areas to the OTEPC Subcommittee in each educational service area to do the recruiting itself, including every step of the examination process, i.e. setting the number of positions to be filled, the recruitment schedule, issuance of the exam questions and evaluation of the results. The OTEPC should not issue any regulations that would encroach on the powers of the OTEPC Subcommittee in each educational service area to do the recruiting itself. The OTEPC should have only a supervisory and guidance role. This would fulfill the intent of the 1999 National Education Act (B.E. 2542) to decentralize administrative power to the educational service areasen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons