Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4379
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรดาการ ภูริพงษ์, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T08:07:02Z-
dc.date.available2023-03-15T08:07:02Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4379-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 และ (2) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 จำแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ และระดับการศึกษากลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามแนวคิดของโกลแมน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบของแมน-วิทนีย์ และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการมองโลกในแง่ดี รองลงมา คือ ด้านทักษะทางสังคม ด้านการบริหารจัดการอารมณ์ ด้านการเข้าใจผู้อื่น และด้านความตระหนักรู้ตนเอง ตามลำดับ และ (2) การเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา พบว่า มีความฉลาดทางอารมณ์ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อจำแนกตามประสบการณ์ พบว่ามีความฉลาดทางอารมณ์แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ.05 โดยผู้บริหารที่มีประสบการณ์ตํ่ากว่า 11 ปี มีความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่าผู้บริหารที่มีประสบการณ์ 11 ปีขึ้นไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.titleความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35th_TH
dc.title.alternativeEmotional quotient of school administrators under Secondary Education Service Area Office 35en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study emotional quotient of school administrators under the Secondary Education Service Area Office 35; and (2) to compare levels of emotional quotient of school administrators under the Secondary Education Service Area Office 35 classified by gender, age, work experience and educational level. The research sample consisted of 80 school administrators under the Secondary Education Service Area Office 35 during the academic year 2014. The instrument used was a questionnaire on school administrator’s emotional quotient based on Goldman’ concept. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, Mann-Whitney U Test, and t-test. The findings were as follows: (1) the overall emotional quotient of school administrators under Secondary Education Service Area Office 35 was rated at the highest level. The emotional quotient aspect with the highest rating mean was that of being optimistic, followed by the aspects of social skill, self-regulation, emphatic understanding, and self-awareness, respectively, and (2) school administrators under the Secondary Education Service Area Office 35 with different genders, ages, and educational levels did not significantly differ in their levels of emotional quotient; however, school administrators with different work experiences differed significantly in their levels of emotional quotient at the .05 level, with those who had work experience of less than 11 years having Significantly higher emotional quotient level than the counterpart level of those who had work experience of 11 years or more.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_149659.pdf14.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons