Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/438
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมโภช รติโอฬารth_TH
dc.contributor.authorสมเดช ศรีทัด, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T10:40:57Z-
dc.date.available2022-08-10T10:40:57Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/438-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินระดับการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดอุดรธานี (2) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แรงจูงใจในการทำงานทรัพยากรการบริหารและกระบวนการบริหารกับระดับการปฏิบัติงานตามบทบาท (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล สภาพแวดล้อมในการทำงาน ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก แรงจูงใจในการทำงาน ทรัพยากรการบริหารและกระบวนการบริหาร กับผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (4) ศึกษาปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในจังหวัดอุดรธานี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงอธิบาย แบบภาคดัดขวาง ประชากรที่ศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จำนวน 204 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นในส่วนต่างๆ ดังนี้ ความร่วมมือของชุมชน 0.90 ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก 0.68 แรงจูงใจในการทำงาน 0.87 กระบวนการบริหาร 0.81 และการปฏิบัติงานตามบทบาท 0.87 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าตํ่าสุด ค่าสูงสุดและไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) การปฏิบัติงานตามบทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 53.10 ผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ร้อยละ 71.60 (2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านต่างๆ กับระดับการปฏิบัติงานตามบทบาท พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ < 0.05 คือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการทํางาน ได้แก่ จํานวนหมู่บ้านและประชากรในเขตรับผิดชอบปัจจัยด้านแรงจูงใจ ได้แก่ แรงจูงใจด้านสัมพันธภาพในการทํางาน แรงจูงใจด้านโอกาสความเจริญก้าวหน้าในการทํางาน ปัจจัยด้านกระบวนการบริหารโดยรวม ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์กร การบริหารงานบุคคล การควบคุมกํากับ ภาวะผู้นํา การประเมินผล (3) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านต่างๆ กับผลการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก พบว่า ปัจจัยด้านการได้รับการฝึกอบรม ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งของปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ < 0.05 (4) ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในจังหวัดอุดรธานี ได้แก่ งบประมาณไม่เพียงพอ สื่อสุขศึกษาไม่เพียงพอ ทรายกำจัดลูกน้ำ น้ำยาหมอกควัน ไม่เพียงพอ และองค์การบริหารส่วนตำบล มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกน้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไข้เลือดออก--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุข--ไทย--อุดรธานีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำสถานีอนามัยในจังหวัดอุดรธานีth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารสาธารณสุข)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to evaluate the level performance of health centre workers in the prevention and control of Dengue Haemorrhagic Fever (DHF) in Udonthani province. (2) to find out the relationship between factors of personal characteristics, work environment, knowledge, motivation, resource management, process of management and the level role performance of health centre workers in the prevention and control of DHF. (3) to find out the relationship between factors of personal characteristics, work environment, knowledge, motivation,resource management, process of management and the effectiveness of health centre worker's role performance in the prevention and control of DIIF. (4) to explore the problems and obstacles in the prevention and control of DHF in Udonthani province. The design of this study was an explanatory research (Cross-sectional). The population of this study included 204 health centre workers who were responsible for prevention and control of DHF in Udonthani province. The instrument for data collection in this study was a questionnair which was constructed by the researcher. Its reliability was 0.90 on people participation.0.68 on knowledge about DHF,0.87 on motivation,0.81 on process of management and 0.87 on the role performance. The statistics employed were percentage, mean, median, standard deviation, minimum, Maximum and Chi-square. The reseach finding showed that (1) The overall role performance of health centre workers in the prevention and control of DHFwas found to be at a moderate level (53.10%), and the effectiveness of health centre workers in the prevention and control of DIIF was found to be at a good level (71.60%). (2) The factors of number of village and population, motivation as regards to relationship with peers and career upward mobility ,overall process of management. specific management aspect as planing, organizing,staffing, controlling, leadership, and evaluation were significantly related to the level overall role performance at the <0.05 level. (3) The factor of personal characteristics as training was significantly related to the work effectiveness at <0.05 level. (4) The problems and obstacles of the role performance of health centre workers in the prevention and control of DHF were shortage of budgeting, insufficient health education media,temephose and Insecticides, poor participation of Tambon Administrative Organization in the prevention and control of DHFen_US
dc.contributor.coadvisorพรทิพย์ เกยุรานนท์th_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77212.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons