Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4390
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | มะลิวัลย์ จันทร์โสดา, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-15T08:32:20Z | - |
dc.date.available | 2023-03-15T08:32:20Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4390 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในตามความคิดเห็นของบุคลากรครูของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตในกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน จำแนกตามการรับรู้ของบุคลากรครูที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในตามความคิดเห็นของบุคลากรครูของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตในกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างคือบุคลากรครู จำนวน 220 คน จากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตในกรุงเทพมหานคร จำนวน 50 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฏว่า (1) การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในตามความคิดเห็นของบุคลากรครูของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตในกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) บุคลากรครูที่มีภูมิหลังต่างกันมีการรับรู้ไม่แตกต่างกันต่อการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน และ (3) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของศูนย์การศึกษา ได้แก่ ควรพัฒนาบุคลากรครูให้มีความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในและการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ควรจัดทำคู่มือระบบการทำงานประกันคุณภาพภายในที่มีแนวปฎิบัติที่ชัดเจน ควรนิเทศติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการสอนอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งนำผลไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนและพัฒนาแผนพัฒนาการศึกษาของศูนย์การศึกษา และควรประเมินคุณภาพการศึกษาของศูนย์การศึกษาตามสภาพจริง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ประกันคุณภาพ | th_TH |
dc.subject | ประกันคุณภาพภายใน | th_TH |
dc.title | การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตในกรุงเทพมหานครตามความการรับรู้ของบุคลากรครู | th_TH |
dc.title.alternative | Operation of internal quality assurance of the district non-formal and informal education centers under Bangkok Metropolitan administration as perceived by teacher personnel | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the operation of internal quality assurance of district non-formal and informal education centers under Bangkok Metropolitan Administration as perceived by their teacher personnel; (2) to compare perceptions on the operation of internal quality assurance of teacher personnel as classified by their backgrounds; and (3) to study suggestions concerning the improvement and development of the operation of internal quality assurance of district non- formal and informal education centers under Bangkok Metropolitan Administration The sample consisted of 220 teacher personnel from the 50 district non- formal and informal education centers under Bangkok Metropolitan Administration The employed research instrument was a rating scale questionnaire with reliability coefficient of .94. Research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test. one-way ANOVA, and content analysis. Research findings showed that (1) the overall operation of internal quality- assurance as perceived by teacher personnel of district non-formal and informal education centers under Bangkok Metropolitan Administration was at the high level; (2) teacher personnel with different backgrounds did not differ significantly in then- levels of perception of the operation of internal quality assurance; and (3) suggestions concerning the improvement and development of the operation of internal quality- assurance in the district non-formal and informal centers were as follows: the teacher personnel should be trained to equip them with deeper knowledge and understanding of internal quality assurance and creation of the center’s educational quality- development plan; a manual with clear guidelines for the operational system of internal quality assurance should be developed; die administrators should supervise, follow-up. and review the teaching quality continuously as well as using the results for improvement of instruction and for development of educational improvement plan of the center; and the center should conduct authentic assessment of its educational quality. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_149660.pdf | 12.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License