Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอาทร สิงห์เถื่อน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-15T08:41:12Z-
dc.date.available2023-03-15T08:41:12Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4393-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง การพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกลุกที่ราชพัสดุของ กรมธนารักษ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อ (1) การบริหารจัดการ (2) ปัญหา (3) แนวทางการพัฒนา และ (4) ศึกษาเปรียบเทียบภาครวมการบริหารจัดการ และภาพรวมแนวโน้ม การบริหารจัดการที่เกี่ยวกับการบุกลุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ โดยนำ แพ็มส์-โพสคอร์บ ซึ่ง ประกอบด้วย 11 ด้าน ได้แก่การบริหารนโยบายการบริหารอำนาจหน้ที่ การบริหารคุณธรรม การ บริหารที่เกี่ยวข้องกับสังคม การวางแผน การจัดองค์การ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การอำนวยการ การประสานงาน การรายงาน และการงบประมาณ มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปีนการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งการหาค่าความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.93 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ (1) ข้าราชการและลูกจ้างประจำในสังกัดกรมธนารักษ์และ (2) ประชาชนผู้เช่าที่ราชพัสดุใน เขตกรุงเทพมหานคร สำหรับการเก็บรวมรวบข้อมูลสนามดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กันยายน 2550 ถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2550 ได้เก็บแบบสอบถามกลับคืนมาจำนวน 893 ชุด คิดเป็นร้อยละ 86.11 ของ แบบสอบถามที่แจกออกไปทั้งหมด สำหรับสถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที รวมทั้ง ยังมีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญตัวต่อตัวอีกด้วย ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยในระดับปานกลางต่อการบริหาร จัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกลุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ และปัญหาที่สำคัญ คือ กรมธนารักษ์ กำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาการบุกรุกที่ราช พัสดุ สำหรับการเปรียบเทียบภาพรวมการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกจลุกทีราชพัสดุของ กรมธนารักษ์ในปัจจุบันสูงกว่าในอดีตและสูงกว่าหน่วยงานอื่นที่มีลักษณะงานใกล้เคียงกันรวมทั้ง ในอนาคตมีแนวโน้นที่จะอำนวยความสะดวกและให้บริการที่เอื้อประโยชนต่อประชาชนเพิ่มมาก ขึ้น สำหรับข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ กรมธนารักษ์ควรกำหนดนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาการบุก ลุกที่ราชพัสดุให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนมากยิ่งขึ้น โดยมีตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ ชัดเจน รวมทั้ง กรมธนารักษ์ควรนำกรอบแนวคิด แพ็มส์-โพสคอร์บ ไปปรับใช้ในการวิจัยด้านการ บริหารจัดการในอนาคตต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectที่ดินของรัฐ--การบริหาร.--ไทยth_TH
dc.subjectการบุกรุกth_TH
dc.subjectที่ราชพัสดุth_TH
dc.titleการพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์th_TH
dc.title.alternativeThe development of management administration to resolve the problems of invasion of Immovable Government Property of the Treasury Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the sampling opinions of (1) management administration, (2) problems, (3) development guideline, and (4) compare overall management administration and tendency of management administration concerning the Invasion of Immovable Government Property of the Treasury Department. The conceptual framework of PAMS-POSDCoRB comprised of 11 factors: Policy, Authority, Morality, Society, Planning, Organizing, Staffing, Directing, Coordinating, Reporting, and Budgeting applied to this study. The study was a survey research by using questionnaires. The questionnaires were being tested for validity and reliability of questionnaire at 0.93 level. The sample groups were (1) government officers and permanent employees who were employed by Treasury Department and (2) lessees of the Invasion of Immovable Government Property. The field data was collected during September 1, 2007 to October 31, 2007. 893 out of 1,037 sets of questionnaire were collected, equal to 86.11%. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t- test. Moreover, specialists with person to person interview were also used in this study. The result of this research showed that middle level of the majority of sample group agreed to the management administration of resolving problems of Invasion of Immovable Government Property of the Treasury Department. The most important problem was the Treasury Department had set up policy of resolving problems of Invasion of Immovable Government Property which did not correspond to the real problems of Invasion of Immovable Government Property. For overall comparison of management administration to resolve the problems of Invasion of Immovable government Property of the Treasury Department at present, it was higher than the past and also higher than other similar organizations. In the future, there was tendency to offer the convenience and services to people more and more. In conclusion, the significant suggestions were the Treasury Department should set up policy to resolve the problems of Invasion of Immovable Government Property by setting obvious indicators and targets and it must be correspond to people needs. Moreover, the Treasury Department should apply conceptual framework of PAMS- POSDCoRB to the management administration research in the futureen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
105700.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons