Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/439
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมสรวง พฤติกุล | th_TH |
dc.contributor.author | อาภรณ์ อ่อนนวล, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T10:44:08Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T10:44:08Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/439 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการใช้สารสนเทศของอาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 (2) เปรียบเทียบสภาพการใช้สารสนเทศของอาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 และ (3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้แหล่งสารสนเทศของอาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคืออาจารย์ที่ทำหน้าที่สอนในสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2547 จำนวน 245 คน จากประชากรจำนวน 698 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ช้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) อาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 มีวัตถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศในระดับมาก คือ เพื่อการสอน เพื่อการติดตามข้อมูลข่าวสาร และเพื่อการศึกษาค้นคว้าและการทำรายงาน แหล่งสารสนเทศที่ใช้ในระดับมาก คือ แหล่งสารสนเทศส่วนตัว วิธีการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่ใช้ในระดับมาก คือ การสืบค้นด้วยตนเอง ลักษณะของสื่อสารสนเทศที่ใช้ในระดับมาก คือ หนังสือทางวิชาการและหนังสือพิมพ์ โดยไม่จำกัดช่วงอายุของสารสนเทศและบันทึกเป็นภาษาไทย และบริการห้องสมุดของสถานศึกษาที่สังกัดที่ใช้สูงสุด คือ บริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศและบริการอ่านภายในห้องสมุด (2) อาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ที่สังกัดต่างคณะวิชากันมีสภาพการใช้สารสนเทศแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) อาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาพบปัญหาและอุปสรรคในการใช้แหล่งสารสนเทศในระดับน้อย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2005.543 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2--อาจารย์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศ--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.title | การใช้สารสนเทศของอาจารย์สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Information use by instructors of Vocational Education Institutes, Central 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2005.543 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research is a survey research with objectives as follows: (1) to study information use by the instructors of Vocational Education Institutes, Central 2, (2) to compare information use by instructors of Vocational Education Institutes, Central 2, and ( 3) to study the problems and the obstacles in the use of information sources for instructors of Vocational Education Institutes, Central 2.The sample group comprised 245 from 698 instructors of Vocational Education Institutes, Central 2. The research instruments were questionnaires. Statistics used for data analysis were percentage, means, standard deviation, and one-way analysis of variance(ANOVA). Research findings were: 1) information was used at a high level by instructors of Vocational Education Institutes, Central 2 for teaching, getting news and conducting study reports; information sources used by instructors at a high level were individual resources; the access method to information sources used at a high level was self searching; materials used were books and newspapers in Thai from any date; and the Institutes’ library lending and reading services were used most, 2) instructors of Vocational Education Institutes, Central 2 in different faculties were found to use information significantly different at .05 level, 3) instructors of Vocational Education Institutes, Central 2 faced problems and obstacles in the use of information at a low level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | มาลี ล้ำสกุล | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | อมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (1).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License