Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4403
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิรัช วิรัชนิภาวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | ชรินทร์ จันวัฒนะ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-16T02:24:53Z | - |
dc.date.available | 2023-03-16T02:24:53Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4403 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งมีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์ (1) การบริหารการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ (2) ปัญหา (3) แนวทางการพัฒนา รวมทั้ง (4) การเปรียบเทียบภาพรวมและภาพรวมแนวโน้มของการบริหารการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลเมีองเบตง จังหวัดยะลา ทั้งนี้ได้นำ ปัจจัยที่มีส่วนสำคัญต่อการบริหารการพัฒนาตามแนวทางคุณธรรม 10 ด้าน ได้แก่ การรักษาความสัจ การรู้จักข่มใจตนเอง ความอดทน การละความชั่ว การเสียสละ ความเมตตา ความสามัคคี ความสุจริต ความเที่ยงธรรม และการส่งเสริมคนดี มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิชัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถามสำหรับการวิจัยสนามนั้นได้ผ่านการทดสอบ รวมทั้งผ่านการทดสอบความเที่ยงตรงและความเชี่อถือได้ที่ระดับ 0.91 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่อาคัยอยู่ในพื้นที่ของเทศบาลเมีองเบตงจังหวัดยะลาจำนวน 1,064 คน ได้มีการแจกจ่ายแบบสอบออกไปและเก็บรวบรวมกลับมาได้ 956 ชุด เท่ากับร้อยละ 89.94 ของแบบสอบถามที่แจกออกไปทั้งหมด (1,064) จากนั้น ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ สำหรับสถิติที่นำมาใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยระดับปานกลาง ว่า ในภาพรวม การบริหารการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา ตามแนวทางคุณธรรม ทั้ง 10 ด้าน อยู่ในระดับสูง (2) สำหรับปัญหาที่สำคัญ คือ พนักงานเทศบาลเมืองเบตงบางส่วนปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความไม่จริงใจ และเสแสร้ง (3) ในส่วนของข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ เทศบาลเมีองเบตงควรพัฒนาและฝึกอบรมพนักงานเทศบาลเมืองเบตง ทุกระดับเป็นประจำในเรึ่องการมีจิตสำนึกที่ดี รวมทั้งผู้บริหารทุกระดับควรทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี ควบคุมดูแลพนักงานเทศบาลเพิ่มมากขึ้น สนับสนุนให้บุคคลหรือหน่วยงานภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการตรวจสอบคุณธรรม ตลอดจน สร้างระบบการตรวจสอบที่เข็มแข็งด้านคุณธรรม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.11 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ทรัพยากรมนุษย์--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | th_TH |
dc.title | การศึกษาวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาการบริหารการพัฒนาด้านทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา ตามแนวทางคุณธรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Analysis study of the development guideline of development administration in terms of human resource according to the morality guideline of the Betong Municipality in Yala Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.11 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.11 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of study were to analysis study on (1) development administration in terms of human resource development, (2) problems, and (3) development guidelines of development administration of human resource of the Betong Municipality in Yala Province. The conceptual framework of Morality was used in this study which consisted of 10 factors: keeping the promise, self-restraint, tolerance, refraining from doing bad deeds, sacrifice, kindness, unity, honesty, justification, and supporting good person. This study was a survey research using questionnaires, including in-dept interview. The questionnaires for field research were pre-tested and had been checked out for validity with reliability at 0.91 level. The samples were 1,064 people lived in the Betong Municipality in Yala Province. After the 1,064 questionnaires were sent out and 956 (89.94%) of total questionnaires was collected. The data was analyzed by computer. Statistics used were percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The study results found that (1) the samples agreed at the medium level in terms of the development administration of human resource according to the morality guideline of the Betong Municipality in Yala Province of 10 factors at maximum level; (2) the important problem was parts of the officers of the Betong Municipality performing their duties with no sincerity and pretension; and (3) the main development guidelines were that the Betong Municipality should set up development and training their officers at all levels concentrating on good consciousness. Moreover, executives at all levels should act as good model; increase controlling their officers; support people and outside agencies to participate in checking their morality; and establish strong audit system in terms of morality. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ศิรินทร์ ธูปกล่ำ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
105702.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.98 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License