Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธ์ พลรบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมคิด สมตน, 2491--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T03:33:31Z-
dc.date.available2023-03-16T03:33:31Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4435-
dc.description.abstractการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตหวงห้ามที่ดินในท้องที่อำเภอเมืองกาญจนบุรีอำเภอวังขนาย อำเภอบ้านทวน และอำเภอวังกะ จังหวัดกาญจนบุรี พุทธศักราช 2481 ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการหวงห้ามที่ดินรกร้างเปล่าอันเป็นที่ดินสาธารณสมบัติของแผ่นดิน พุทธศักราช 2478 กระทบสิทธิของประชาชนเป็นการขัดต่อหลักนิติรัฐ (Legal State) และหลักนิติธรรม (Rule of Law) การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและหลักกฎหมายเกี่ยวกับความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการตรากฎหมายลำดับรอง (2) เพื่อวิเคราะห์ถึงพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตหวงห้ามที่ดิน ที่รัฐใช้บังคับอยู่นั้นเป็นไปตามหลักนิติรัฐและหลักนิติธรรมเพียงใด (3) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาความไม่เป็นธรรมของการออกกฎหมายว่าด้วยการกำหนดเขตห้วงห้ามที่ดิน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาวิจัยในเชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสารที่ได้ศึกษาวิจัยจากกฎหมายที่รัฐ (ฝ่ายบริหาร) ออกว่ากฎหมายอยู่ในกรอบและขอบเขตของหลักกฎหมายที่ให้อานาจไว้ การขัดรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดที่ให้การคุ้มครองปกป้องสิทธิของประชาชนตามหลักของนิติรัฐ (Legal State) คำนึงถึงลำดับชั้น ศักดิ์ของกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย เป็นไปตามหลักของนิติธรรม (Rule of Law) และเอกสารวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาพบว่าการออกกฎหมายของรัฐ (ฝ่ายบริหาร) กรณีการกำหนดเขตหวงห้ามที่ดิน ขณะนั้นคำนึงถึงผลประโยชน์ตามความต้องการของรัฐ เพื่อนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ของรัฐ มิได้คำนึงถึงผลกระทบต่อสิทธิประชาชนเป็นการขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญและกฎหมายที่ให้อำนาจไว้ จึงควรวางหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ การหวงห้ามที่ดินและผลกระทบด้านอื่น ๆ ให้ชัดเจนเพื่อมิให้เกิดปัญหาความไม่เป็นธรรมต่อสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตหวงห้ามที่ดินth_TH
dc.subjectที่ดินหวงห้าม--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิติศาสตร์th_TH
dc.titleปัญหาการออกพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตหวงห้ามที่ดินth_TH
dc.title.alternativeProblem on the issuance of The Decree Prescribing Restricted Area of Landen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe issuance of the decree prescribing restricted area of land B.E. 2481 in Muang District, Wang Kanai District, Baan Touan District and Wang Ka District, Kanchanaburi Province under Restricted Waste Land for Public Land Act B.E. 2478 affects the rights of the people as it is contrary to principle of Legal State and the Rule of Law. The objectives of this study are ; (1) To study concept and legal principle of the legality and validity of the subordinate legislation ; (2) To analyze the legality of the Decree Prescribing Restricted Area of Land B.E. 2481 whether it is in line with the principle of Legal State and Rule of Law; (3) To suggest the appropriate solutions for the enactment of the law prescribing restricted area of land This independent study is a qualitative study of research document that examines the related subordinate legislation whether it is in the context of legal framework and the Constitution which is the supreme law that protects the rights of citizens under the rule of law (Legal State), taking into account the hierarchy of legislation and law enforcement and other related technical documentation. This study found that the subordinate legislations issued by the administrative in the case of decree prescribing restricted area of land at that time based on benefits and requirements of the government for the exploitation of the natural resources regardless the impacts on the rights of citizens which is contradict with the Constitution and legal framework. The criteria of utilization, restriction of land, and other impacts should be clearly formulated to avoid the problems of social inequityen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม62.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons