Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/443
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิวัฒน์ เอี่ยมไพรวัน | th_TH |
dc.contributor.author | สุรเดช ครองแก้ว, 2492- 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T11:05:03Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T11:05:03Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/443 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษรูปแบบและวิธีการซื้อเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในเขตเทศบาล ตำบลพบพระ จังหวัดตาก (2) ศึกษาผลของการซื้อเสียงของผู้สมัครรับลือกตั้งที่มีต่อการเมืองในเขตเทศบาล ตำบลพบพระ จังหวัดตาก (3) เสนอแนะแนวทาง แก้ไขปัญหาการซื้อเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิชัยเชิงคุณภาพ ประชากรวิจัยและกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 15 คน ได้แก่ กลุ่มประธานชุมชนในเขตเทศบาล ตำบลพบพระ จังหวัดตากจำนวน 6 คนกสุ่มประธานชมรมต่างๆได้แก่ ประธานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ประธานกลุ่มสตรี ประธานผู้นำสตรีการเมือยุคใหม่ และ ประธานชมรมหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น จำนวน 5 คน กลุ่มข้าราชการ ได้แก่ นายอำเภอพบพระ ปลัดอำเภอพบพระ ผู้อำนวยการโรงเรียนชุมชนบ้านพบพระ ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดตาก จำนวน 4 คน เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสัมภาษณ์ ผลการจัยพบว่า (1) ในเขตเทศบาลตำบลพบพระ จังหวัดตาก รูปแบบและวิธีการซื้อเสียงเลือกตั้งมักกระทำในสองลักษณะในขณะเดียวกันคือรูปแบบทางตรง ได้แก่ การแจกเงินและสิ่งของผ่าน หัวคะแนน แลรูปแบบทางอ้อม ได้แก่ การบริจาคเงินผ่านองค์กรต่างๆ เช่น โรงเรียน วัด โดยคำนึงถึงสถานการณ์ทางการเมืองที่เป็นอยู่ในขณะนั้น (2) ผลของการซื้อเสียงเลือกตั้งที่มีต่อการเมืองในเขตเทศบาลตำบลพบพระ จังหวัดตาก พบว่า ผลที่เกิดจากการใข้เงินซื้อเสียงมิได้เป็นการสร้างรายได้ให้กับ ท้องถิ่น การสร้างค่านิยมในเรืองการซื้อเสียงเป็นบ่อเกิดความเห็นแก่ได้ของคน และการเห็นเงินสำคัญกว่าระบอบประชาธิปไตย ส่วนผลที่ก่อให้เกิดความแตกแยกทางสังคมพบว่า มีการแบ่งฝ่ายทางการเมืองมีการทะเลาะกันระหว่างเครือญาติในทางการเมืองในเขตเทศบาลตำบลพบพระ จังหวัดตาก และมีการ โจมตีคู่แข่งทางการเมือง (3) การแก้ไขปัญหาการซื้อเสียงเลือกตั้งควรมีการปรับปรุงกฎหมายโดยเพิ่มบทลงโทษผู้กระทำผิดให้หนักขึ้น เพื่อให้การเลือกตั้งบริสุทธิยุติธรรม รณรงค์ให้ประชาชนรู้ถึงผลเสียของการซื้อเสียงเพื่อสร้างมิติใหม่ทางการเมือง และปลูกจิตสำนึกให้ประชาชน รู้จักใช้อำนาจของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้ง -- การทุจริต -- ไทย -- ตาก | th_TH |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร -- การเลือกตั้ง | th_TH |
dc.title | รูปแบบและวิธีการซื้อเสียงของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศึกษากรณีเทศบาลตำบลพบพระ จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | Vote buying forms and methods of candidates of house of representative : a case study of Phop Phra Municipality, Tak Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the forms and methods of vote buying used by candidates of House of Representatives in Phop Phra Municipality, Tak Province; (2) to study the effects of this vote buying on politics in that area; and (3) to recommend ways of solving the problem of vote buying candidates of House of Representatives. This was a qualitative research. The population and the sample consisted of 15 people including six community heads in Phop Phra Municipality, Tak Province, five heads of different groups (the president of the kumnan and village headman club, the president of the women’s group, the president of the modem female political leaders club, and the president of the local newspaper club) and four government officials including the sheriff of Phop Phra District, the deputy of Phop Phra District, the director of Baan Phop Phra Community School, and the election director of Tak Province. Data were collected using interview forms. The results showed that (1) In Phop Phra Municipality, Tak Province, vote buying was usually done in two ways: directly by giving out cash or gifts via canvassers, and indirectly by making donations to various organizations like schools or temples, taking into consideration the political situation at the time. (2) The effects of vote buying in Phop Phra Municipality, Tak Province were not increasing revenue in the municipality but were creating a value of selfishness in which money is seen as more important than democracy. Another effect was increased division in society as people took political sides, leading to political disputes among relatives and attacks against competing politicians. (3) The problem of vote buying should be addressed by revising relevant legislature to make the penalties more severe so that elections will be pure and fair and by holding public campaigns to educate people about the negative effects of vote buying. This can help build a new political attitude and raise people’s awareness to use their power in the democratic system. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
107679.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License