Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมทรง นิลยอง, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T03:48:36Z-
dc.date.available2023-03-16T03:48:36Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4441-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้ มีความมุ่งหมาย (1) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 (2) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักกฎหมายเกี่ยวกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และ (3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้านตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 ที่ไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจจุบันให้มีความเหมาะสมและทันสมัย การศึกษาครั้งนี้ใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารด้วยการศึกษาค้นคว้าเอกสารตัวบทกฎหมายกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 และตำราวิชาการต่าง ๆ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องแล้วนามารวบรวมวิเคราะห์และสรุปเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่า การกำหนดคุณสมบัติของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านไว้ว่า ต้องมีพื้นความรู้ไม่ต่ำกว่าการศึกษาภาคบังคับหรือเทียบเท่านั้นน้อยเกินไปไม่สอดคล้องกับบทบาทอำนาจหน้าที่ และในส่วนของวาระการดำรงตำแหน่งที่ให้พ้นจากตำแหน่งเมื่อมีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แทนการดำรงตำแหน่งเป็นวาระไม่สอดคล้องต่อหลักการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย เช่นเดียวกับการเลือกกำนัน โดยให้ผู้ใหญ่บ้านเลือกกันเองแทนการเลือกโดยประชาชน ทำให้กำนันขาดความเชื่อมโยงโดยตรงกับประชาชนและทำให้ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการเลือกตัวแทนในระดับตำบล ทั้งการกำหนดอายุขั้นต่ำของผู้ดำรงตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้านไว้ที่ 25 ปีบริบูรณ์ ก็ไม่เหมาะสมกับบทบาทอำนาจหน้าที่ที่มีหลากหลายทั้งตามบทบัญญัติของกฎหมายและตามแบบพิธีการทางสังคม ประการสุดท้าย การกำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้านว่าต้องมีภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ประจำและมีชื่อในทะเบียนบ้านในหมู่บ้านนั้นไม่น้อยกว่า 3 เดือนจนถึงวันเลือกสั้นเกินไป ไม่เหมาะสมต่อการส่งเสริมการเลือกตั้งในระดับหมู่บ้านให้บริสุทธิ์ ยุติธรรม และได้ตัวแทนที่ดีมีความรู้ความสามารถth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.subjectกฎหมายปกครอง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาและแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการปกครองท้องที่ : ศึกษาเฉพาะกรณีกำนันและผู้ใหญ่บ้านth_TH
dc.title.alternativeProblems and improvements toward the district government act: a case study of the sub-district and village headmenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study aim (1) to analyze the problems of sub-district and village Headmen’s law toward the District Government Act B.E.2457 (2) to study the principle approach of sub-district and village headmen’s law and (3) to search for the improvement of sub-district and village headmen’s law toward the District Government Act B.E.2457 which are not conform to present situation and out of date. This independent study is a qualitative research conducted based on legal documents, academic documents and related documents. This study also analyzes the problems and concluding the suggestion. The result of this study revealed that (1) the specification qualifying of sub-district and village headmen required the basic education level which was not appropriate to their authority and function also the period of duty to be sixty years old was not consistent with period of consequence the democracy principle (2) sub-district headmen was elected by village headmen instead of populace that was effected to the correlation between sub-district headmen and people and they did not have an opportunity to elected their representatives in district level (3) the aging limit of sub-district and village headmen was twenty five years old that was not appropriate to their authority and function toward the law and social aspects (4) the specification qualifying of right vote who elected village headmen must be native or domicile as permanence and the name showed in census at least three months until to the election day being too short and these was not properly to election supporting in village level which should be innocent, justice and procured the representative who had intellectual and capacityen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons