Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4446
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิมาน กฤตพลวิมาน | th_TH |
dc.contributor.author | สมบูรณ์ อุดทังไข, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-16T03:54:41Z | - |
dc.date.available | 2023-03-16T03:54:41Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4446 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง ข้อพิจารณากฎหมายการขายทอดตลาดและค้าของเก่า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ค้นคว้า กฎหมายการควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่าและเพื่อทำการสรุปหาข้อพิจารณาที่เหมาะสมในการพัฒนาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มีความทันสมัย เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยทางเอกสาร ข้อมูลเอกสารจากพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่าพุทธศักราช 2474 วิทยานิพนธ์ ตำรา บทความ คำพิพากษา ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง และศึกษากฎหมายต่างประเทศ รวมถึงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนำข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบหาข้อพิจารณาแนวทาง การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ผลการศึกษาพบว่า ทำให้ได้ข้อพิจารณาของกฎหมายการขายทอดตลาดและค้าของเก่า ประเด็นแรก การตรวจร้านค้าของเก่า ขายทอดตลาด ของ นายตรวจ ในห้วงเวลาที่กฎหมายกำหนด ไม่ความเหมาะสมหรือสอดคล้องกับห้วงเวลาทำการค้าของเก่าหรือขายทอดตลาด ประเด็นที่สองการกำหนดให้ใบอนุญาตใช้ได้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ทำให้ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตแต่ละรายมีระยะเวลาในการประกอบกิจการไม่เท่ากันหรือไม่มายื่นคำร้องขออนุญาตช่วงใกล้สิ้นปีแต่ต้องชำระค่าธรรมเนียมในอัตราที่เท่ากัน ประเด็นที่สาม การควบคุมการค้าหรือขายทอดตลาดโบราณวัตถุ ยังเปิดให้ทำการค้าได้ส่วนมาตรการคุ้มครองยังไม่เหมาะสม ประเด็นที่สี่ การขายทอดตลาดและค้าของเก่าที่สามารถออกใบอนุญาตได้ต้องมีสถานที่ทำการค้าหรือสถานที่เก็บทรัพย์ ยังไม่เหมาะสมควรให้ผู้ที่ไม่มีสถานที่สามารถขอใบอนุญาตได้ด้วย ประเด็นที่ห้า ควรแยกกฎหมายการขายทอดตลาดและกฎหมายค้าของเก่าไว้คนละฉบับ ประเด็นสุดท้าย ควรมีการเพิ่มเนื้อหาบทบัญญัติในเรื่องการขายทอดตลาดหรือค้าของเก่าทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไว้ในกฎหมายด้วย | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การขายทอดตลาด--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การค้าของเก่า--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | ข้อพิจารณากฎหมายการขายทอดตลาดและค้าของเก่า | th_TH |
dc.title.alternative | Legal considerations auction and second-hand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this independent study research is to study the laws, rules, and regulations governing auctions and trade in secondhand goods, and to draw conclusions on appropriate considerations for the improvement of the law to be more suitable for the current situation. This was a qualitative research done by documentary research, consulting documentary information from the Auction and Second Hand Act BE 2474 (CE 1931), relevant dissertations, textbooks, articles, judgments, and other related literature including foreign laws and electronic data sources. The data were analyzed and compared with an aim to forming guidelines for recommended amendments to the law to be more appropriate. The results of the study reavealed some considerations about the laws governing the auction and trade of secondhand goods. First, the inspection of secondhand shops by the inspectors during the time period prescribed by law is not appropriate or consistent with the time required for secondhand sales or auctions. Second, licenses are valid until 31 December, so that each licensee has a different amount of time for doing business or may not apply for a license until close to the end of the year, but they must all pay the same fee. The third point that is the trade or auction of antiques is permitted but the protection and control measures are not appropriate. The fourth point is, to be licensed, enterprises interested in doing business in auctions or secondhand trade must have a place of business or a storage place. It is recommended that people who do not have a place of business or storage place should still be allowed to apply for a permit. For the fifth point, the law on public auctions and the law of secondhand trade should be separated. The final issue is that provisions and guidelines for auctions and secondhand sales via electronic media should be added to the law. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License