Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ ประจนปัจจนึก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสรัลลัคน์ อินพรหม, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T04:43:00Z-
dc.date.available2023-03-16T04:43:00Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4463-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการกาหนดให้มีอนุญาโตตุลาการชี้ขาดข้อพิพาทในสัญญาทางปกครอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษา แนวคิด ทฤษฎี ของสัญญาทางปกครองและอนุญาโตตุลาการ (2) เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาดข้อพิพาทในสัญญาทางปกครองของไทย (3) เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาดข้อพิพาทในสัญญาทางปกครองของต่างประเทศ (4) เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ปัญหาการกำหนดให้มีอนุญาโตตุลาการชี้ขาดในสัญญาทางปกครองของไทย การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวบทกฎหมาย หนังสือ บทความ เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์และข้อมูลจากเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผลการศึกษาวิจัย เห็นว่าไม่จำต้องต้องแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 แต่อย่างใด แต่ควรบัญญัติกฎหมายเพิ่มเติมให้ชัดเจนขึ้นโดยบัญญัติแยกออกมาเป็นหมวด “ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการในสัญญาทางปกครอง” ให้มีสาระสำคัญเกี่ยวกับเรื่องการจัดทำสัญญา การแก้ไขปัญหาการบริหารสัญญา โดยมีสาระสำคัญ ดังนี้ ในการร่างสัญญาของหน่วยงานของรัฐซึ่งเป็นผู้จัดทำสัญญา ต้องให้คณะเจ้าหน้าที่ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคการเขียนสัญญา และต้องมีความรู้ ความสามารถในด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาสาระของสัญญา และต้องให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวกับเจ้าหน้าที่ที่มีความรู้หรือประสบการณ์เกี่ยวกับกิจการบริการและสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญ่ในสาขาที่ได้มีการทาสัญญาตรวจสอบการปฏิบัติข้อสัญญาดังกล่าวด้วยเพื่อให้การปฏิบัติตามสัญญามีความต่อเนื่องและถูกต้องตามสัญญา” สาระสำคัญในการแก้ไขปัญหาคุณสมบัติของคณะอนุญาโตตุลาการคือ “อนุญาโตตุลาการคนหนึ่งควรเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายมหาชนเป็นอย่างดี กล่าวคือ มีประสบการณ์ในสายกฎหมายมหาชนพอสมควรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอนุญาโตตุลาการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleการกำหนดให้มีอนุญาโตตุลาการชี้ขาดข้อพิพาทในสัญญาทางปกครองth_TH
dc.title.alternativeConstitution of the Arbitration Tribunals for the settlement dispute concerning administrative contracten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on constitution of the Arbitration Tribunals for the settlement dispute concerning administrative contract aims to: 1) study concepts and theories of administrative contracts and arbitration; 2) study rule and guidelines to constitute of the Arbitration Tribunals for the settlement of dispute in administrative contract in Thailand; 3) study rules and guidelines to constitute of the Arbitration Tribunals for the settlement of dispute in administrative contract of foreign countries; and 4) study ways to solve problems to constitute of the Arbitration Tribunals for the settlement of dispute in administrative contract in Thailand. This independent research is a qualitative and documentary research and data were collected from books, articles, academic documents, researches, theses and data from the Internet, both in Thai and English. It was found that Article 15 of the Arbitration Act, B.E. 2545, did not need amending. However, there should be additional legislation by stipulating “the Arbitration of administrative contract” in a separate category and adding compiling contracts and solving problems of contract administration in such legislation. In terms of compiling contract, officials with knowledge, competency and expertise of contract writing techniques should have knowledge of relevant laws. They should also have knowledge on services and large-scale utilities in the field of the contracts being written in order to make contract continuously and correctly. In terms of qualification of arbitrator, arbitration tribunal officials should have a comprehensive understanding of public laws, namely, they should have appropriate experiences in public lawsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons