Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/446
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชยth_TH
dc.contributor.authorจริยา ผดุงพัฒโนดม, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-10T11:25:38Z-
dc.date.available2022-08-10T11:25:38Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/446-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2545th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หาประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพในการลดปริมาณแบคทีเรีย ค่าบีโอดี และปริมาณของแข็งแขวนลอยให้ได้ตามกฎหมายกำหนด (2) หาปริมาณเชื้อแบคทีเรียทั้งหมด โคสิฟอร์มทั้งหมด ฟืคัลโคลฟอร์ม และแบคทีเรียก่อโรคในระบบทางเดินอาหารในนํ้าเสีย (3) ทดสอบหาปริมาณคลอรินที่เหมาะสม เพื่อใช้ในการทำลายเชื้อแบคทีเรียในนํ้าเสียที่ผ่านการบำบัดแล้วได้ทั้งหมด ก่อนปล่อยลงแหล่งน้ำสาธารณะ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงทดลอง ใช้ตัวอย่างน้ำเสียของโรงงานอาหารทะเลแช่แข็ง 1 แห่ง ในจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งมีระบบบำบัดนํ้าเสียแบบชีวภาพ โดยเก็บตัวอย่างนํ้าเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตและนํ้าใช้อึ่น ๆ ภายในโรงงานก่อนเข้าระบบบำบัดนํ้าเสีย จานวน 30 ตัวอย่าง และนํ้าเสียที่ผ่านระบบบำบัด จำนวน 30 ตัวอย่าง เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบบำบัดนํ้าเสีย ผลการศึกษาพบว่า (1) ประสิทธิภาพของระบบบำบัดนํ้าเสียที่โรงงานเลือกใช้สามารถบำบัดนํ้าเสียได้ร้อยละ 40 ให้มีโคสิฟอร์มทั้งหมดมีค่าน้อยกว่า 1,000 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร คุณลักษณะของนํ้าทิ้งก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะเมื่อผ่านระบบบำบัดนํ้าเสียแล้วมีค่าบีโอดีเฉลี่ย 8.7 มิลลกรัมต่อลิตร ปริมาณของแข็งแขวนลอยเฉลี่ย 33.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเป็นกรดและด่างเฉลี่ย 7.7 และอุณหภูมิเฉลี่ย 27.5 องศาเซลเซียส ซึ่งมีค่าได้ตามเกณฑ์ควบคุมคุณภาพน้ำทิ้งจากโรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2539 (2) นํ้าเสียก่อนการบำบัดมีปริมาณเชื้อแบคทีเรียทั้งหมด มีค่าเฉลี่ย 2.4x109 หน่วยการสร้างโคโลนีต่อ 100 มิลลิลิตร ปริมาณโคลฟอร์มทั้งหมดและฟิคัลโคลฟอร์มเฉลี่ย 1.3X107 และ 1.0X107 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลตร ตามลำดับ พบเชื้อก่อโรคในระบบทางเดินอาหารคอซาลโมเนลลา 5 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 16.7 สตาฟิโลคอกคัส ออเริยส 4 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 13.3 ส่วนนํ้าเสียที่ผ่านระบบบำบัดแล้วมีปริมาณเชื้อแบคทีเรียทั้งหมด มีค่าเฉลี่ย 8.3x106 หน่วยการสร้างโคโลนีต่อ 100 มิลลิลิตรปริมาณโคลฟอร์มทั้งหมด และฟิคัลโคสิฟอร์มเฉลี่ย 1.4x104 และ 1.1x104 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลสิลตร ตามลำดับ พบเชื้อก่อโรคในระบบทางเดินอาหารคือ ซาลโมเนลลา และเชื้อสตาฟิโล คอกคัส ออเริยส ชนิดละ 1 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 3.3 (3) ค่าคลอรินที่เหมาะสมที่ใช้ในการฆ่าเชื้อฟิคัลโคสิฟอร์ม เมื่อปริมาณเชื้อเริ่มต้น 105 เอ็มพีเอ็นต่อ 100 มิลลิลิตร ต้องใช้ปริมาณคลอริน 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมีคลอรินอิสระคงเหลือ 0.07 มิลลิกรัมต่อลิตร ใช้เวลาในการฆ่าเชื้อ 30 นาที จึงจะมีประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อได้ทั้งหมดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectน้ำเสีย--การบำบัดโดยชีววิทยาth_TH
dc.titleประสิทธิภาพระบบบำบัดน้ำเสียแบบชีวภาพในการลดปริมาณ แบคทีเรียในน้ำเสียประเภทโรงงานอาหารทะเลแช่แข็งth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was (1) to investigate the efficiency of biological wastewater treatment system for reducing bacteria quantity, biological oxygen demand (BOD) and suspended solid in order to meet the requirement of the law (2) to find out quantity of total bacteria , total coliform, fecal coliform and intestinal pathogenic bacteria in wastewater (3) to test the amount of appropriate chlorine for killing all bacteria in treated wastewater before discharging to public water resources. This study was experimented research by using wastewater from biological wastewater treatment system of one frozen seafood factory located in Samutsakorn Province. A total of 30 samples of wastewater collected from production process and other used water in the factory before passing the treatment system and 30 samples of treated wastewater were studied for the efficiency of wastewater treatment system. The study showed that (1) the efficiency of wastewater treatment system used by the factory could treat wastewater for 40%. The wastewater finally contained total coliform less than 1,000 MPN/IOO ml. The treated wastewater before discharging to public water resources contained mean of BOD 8.7 mg/l., suspended solid 33.8 mg/l., pH 7.7 and 27.5°c. These results achieved control level of wastewater quality from the factory according to the Promulgate of Ministry of Industry Issue No.2 B.E.2539. (2) Influent contained mean of total bacteria for 2.4X109 colony forming unit(CFU)/100 ml., total coliform and fecal coliform for 1.3x107 and 1.0x107 MPN/100 ml., respectively. Investigation of intestinal pathogenic bacteria showed that Sslmonelld was found in 5 samples (16.7%) and Staphylococcus aureus was also found in 4 samples (13.3%). Effluent contained mean of total bacteria for 8.3x1 o6 CFU/100 ml., total coliform and fecal coliform for 1.4x104 and 1.1x104 MPN/100 ml., respectively. Investigation of intestinal pathogenic bacteria showed that Salmonella and s.aureus were found in 1 sample each (3.3%). (3) Optimal chlorine dosage for disinfection of fecal coliform at starting quality of 105 MPN /100 ml. needed chlorine 2.5 mg/l. with final free residue chlorine 0.07 mg/l. and 30 minutes of disinfection time to achieve total disinfecton efficiencyen_US
dc.contributor.coadvisorสมทรง อินสว่างth_TH
dc.contributor.coadvisorศิริพรรณ วงศ์วานิชth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
77215.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.49 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons