Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสหโรจน์ สุขขี, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T06:46:40Z-
dc.date.available2023-03-16T06:46:40Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4483-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและหลักการพื้นฐานของคำสั่งทางปกครองและการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองโดยฝ่ายปกครอง (2) เพื่อศึกษาแนวคิดและหลักการพื้นฐานของการปฏิรูปที่ดิน รวมทั้งหลักเกณฑ์การเพิกถอนหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 และระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วย การออก แก้ไขเพิ่มเติม เพิกถอนและออกใบแทนหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. 2540 (3) เพื่อหาแนวทางเยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการเพิกถอนหนังสืออนุญาตให้เข้าทาประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาวิจัยทางด้านเอกสาร (Documentary Research) เป็นหลัก โดยทำการศึกษาจากบทบัญญัติของ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากตำรา บทความทางวิชาการ งานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สามารถค้นคว้าได้จากอินเตอร์เน็ต จากนั้นนำข้อมูลทั้งหมดมาตรวจสอบเพื่อให้เป็นการแน่ใจว่าข้อมูลที่ได้มานั้นเป็นข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ แล้วจึงนำมาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลในการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า หากมีการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วย การออก แก้ไขเพิ่มเติม เพิกถอนและออกใบแทนหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน พ.ศ. 2540 โดยการกำหนดหลักเกณฑ์การเพิกถอนหนังสืออนุญาตให้ เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินให้ครอบคลุมถึงการคุ้มครองสิทธิของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรและกำหนดขั้นตอนการเพิกถอนหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินให้ชัดเจน จะทำให้การบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และส่งผลให้เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรได้รับการแก้ไขเยียวยาความเสียหายอย่างเป็นธรรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectที่ดิน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.titleปัญหาการเพิกถอนหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดินโดยฝ่ายปกครองth_TH
dc.title.alternativeThe revocation of permission to Utilize Land in the land in reform zone issued by the administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on the revocation of permission to utilize land in the land reform zone issued by the administration aims to 1) study basic concepts and principles of administrative orders and revocation of administrative orders by administration; 2) study basic concepts and principles of land reform including principles of revocation of permission to utilize land in the land reform zone according to the Agricultural Land Reform Act, B.E. 2518, and the Agricultural Land Reform Commission Regulations regarding issuance, amendment, revocation and replacement of permits to utilize land in the land reform zone in 1997; 3) find ways to help farmers who have been affected by revocation permission to utilize land in the land reform zone. This independent study is qualitative research, in which document were mainly studied. Provisions of relevant legislation including information obtained from various texts, academic research and thesis and related information on the Internet were studied. Then, the data were verified for their accuracy and reliability and analyzed in a systematic way. It was found that the Agricultural Land Reform Commission should amend regulations of issuing, amendment, revocation and replacement of permission to utilize land in the land reform zone in 1997. Criteria of the permit revocation should cover rights of farmers or the Farmers’ Institution. Procedure of revocation of the permits to utilize land in the land reform zone should be clearly stated so that relevant government agencies can enforce the regulations in a more effective way and farmers or the Farmers’ Institution are helped and compensated for damages fairlyen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons