กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/448
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | พรภวิษย์ น้นทชัชวาลย์กุล | th_TH |
dc.contributor.author | ธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมคิด พรมจุ้ย | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-10T11:29:35Z | - |
dc.date.available | 2022-08-10T11:29:35Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.citation | วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 14, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มิ.ย. 2564), หน้า 141-152 | th_TH |
dc.identifier.issn | 1905-4653 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/448 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเขียนสรุปความโดยการใช้เทคนิค SQ3RS และภูมิปัญญาท้องถิ่นพระนครศรีอยุธยาระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา และ (2) ศึกษาเจตคติต่อภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 32 คน ได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้เทคนิค SQ3RS และภูมิปัญญาท้องถิ่นพระนครศรีอยุธยา (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การเขียนสรุปความ และ (3) แบบวัดเจตคติต่อภูมิปัญญาท้องถิ่นพระนครศรีอยุธยา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนสรุปความหลังเรียนโดยการใช้เทคนิค SQ3RS และภูมิปัญญาท้องถิ่นพระนครศรีอยุธยา มีค่าเฉลี่ยมากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น | th_TH |
dc.language.iso | other | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | - |
dc.subject | การเขียน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการใช้เทคนิค SQ3RS และภูมิปัญญาท้องถิ่นพระนครศรีอยุธยาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การเขียนสรุปความและเจตคติต่อภูมิปัญญาท้องถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using SQ3RS technique and Phra Nakorn Si Ayutthaya local wisdom on conclusion writing learning achievement and attitude toward local wisdom area of Mathayom Suksa I Students of Phranakorn Si Ayutthaya Rajabhat University Demonstration School | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research were 1) to compare the conclusion writing achievement of Mathayom Suksa I students from Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Demonstration School before and after learning with the use of SQ3RS technique and local wisdom of Phra Nakhon Si Ayutthaya; and 2) to study the students' attitudes towards the local wisdom. The sample comprised of 32 Mathayom Suksa I students from Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Demonstration School during the first semester of the academic year 2017, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments included: (1) the learning management plan using SQ3RS technique and local wisdom of Phra Nakhon Si Ayutthaya; (2) the conclusion writing achievement test; and (3) the attitude test on local wisdom of Phra Nakhon Si Ayutthaya. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings were as follows: 1) the post- conclusion writing achievement of Mathayom Suksa I students, who learned with the use of SQ3RS technique and local wisdom of Phra Nakhon Si Ayutthaya, was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level; and 2) the students had good attitudes towards local wisdom | en_US |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | STOU Education Journal |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License