Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4490
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสันติพงศ์ โนนจันทร์, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T07:01:57Z-
dc.date.available2023-03-16T07:01:57Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4490-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการสอบสวนเพื่อลงโทษข้าราชการทางวินัยของต่างประเทศและนำมาเปรียบเทียบกับหลักที่ใช้ในการสอบสวนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของประเทศไทย และศึกษาปัญหาในการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และตามกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการการสอบสวนพิจารณา พ.ศ. 2550 การศึกษาค้นคว้าได้ทำการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเอกสารการวิจัย ทบทวน วรรณกรรม บทความทางวิชาการ วารสาร ตำราทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซึ่งในเรื่องของหลักการสอบสวนเพื่อลงโทษข้าราชการทางวินัยของต่างประเทศได้ศึกษาจาก 2 ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษและประเทศฝรั่งเศส เนื่องจากเป็นที่ยอมรับทั่วไป และทำการศึกษาพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และกฎ ก.ค.ศ. ว่าด้วยการการสอบสวนพิจารณา พ.ศ. 2550 เพื่อเปรียบเทียบกับหลักการสอบสวนลงโทษข้าราชการทางวินัยของต่างประเทศว่ามีความสอดคล้องหรือแตกต่างกันตลอดจนปัญหาในตัวบทกฎหมายของไทย ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า การดำเนินการทางวินัยตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และตามกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ. 2550 ส่วนใหญ่จะสอดคล้องกับหลักกฎหมายของต่างประเทศ แต่ยังพบว่ามีปัญหาในทางปฏิบัติของบุคคล องค์คณะบุคคล และตามบทบัญญัติของกฎหมายในการใช้อำนาจดุลพินิจ อำนาจพิจารณา โดยเฉพาะปัญหาการกำหนดระยะเวลาในการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงและการไม่กำหนดระยะเวลาหลังจากผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนได้พิจารณาสำนวนและรายงานไปที่สำนักงาน ก.ค.ศ.แล้ว ทั้งนี้จะได้เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชากฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการครู--วินัยth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา--วินัยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547th_TH
dc.title.alternativeInvestigation of serious discipline of teachers and educational personnel under Teachers and Education Personnel act B.E. 2547en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study has the purpose to study about the investigation of discipline of civil servants abroad compare with the Investigation of discipline of teachers and educational personnel in Thailand. In addition, to study problem about the investigation of serious discipline of teachers and educational personnel under teachers and education personnel Act B.E. 2547 and under teachers council of Thailand rules about investigation and consider B.E. 2550. The literature review about the investigation of discipline of civil servants of England and France together with teachers and education personnel Act B.E. 2547 and teachers council of Thailand rules about investigation and consider B.E. 2550 were conducted. The investigation of discipline of civil servants of England and France were compared with the Investigation of discipline of teachers and educational personnel in Thailand. Moreover, the problem about the investigation of serious discipline of teachers and educational personnel under teachers and education personnel Act B.E. 2547 and under teachers council of Thailand rules about investigation and consider B.E. 2550 were studied. The study found that the disciplinary action under teachers and education personnel Act B.E. 2547 and under teachers council of Thailand rules about investigation and consider B.E. 2550 most are consistent with England and France law. However, it also has the practical problems for committee who enforced by this law because period for investigation and report to the teachers council of Thailand after investigation finish are not determined yet which will be suggest to the organizations who relative lateren_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons