Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4499
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวนีย์ อัศวโรจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | สิริชัย กกแก้ว, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-16T07:25:38Z | - |
dc.date.available | 2023-03-16T07:25:38Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4499 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎี การควบคุมอำนาจรัฐและการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อศึกษากฎหมาย ปัญหาที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 และเพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไข ปรับปรุงกฎหมาย พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร โดยศึกษาวิเคราะห์จากวิทยานิพนธ์ หนังสือ วารสาร บทความ งานวิจัย บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลอื่น ๆ ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 มีข้อบกพร่องอยู่หลายประการที่จะทำให้การตรวจสอบการรับ – จ่ายเงินแผ่นดิน ขาดประสิทธิภาพและไม่สามารถป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่การเงินการคลังของรัฐได้ คือ ตรวจสอบการจัดเก็บภาษีอากรของหน่วยรับตรวจ ตามมาตรา 86 วรรคท้าย เป็นบทบัญญัติ ที่ห้ามผู้ว่าการตรวจสอบการประเมินการจัดเก็บภาษีอากรของหน่วยรับตรวจ การตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุของหน่วยรับตรวจ ตามมาตรา 89 เป็นบทบัญญัติ ที่ลิดรอนอำนาจการตรวจสอบก่อนจ่ายการจัดซื้อจัดจ้างของผู้ว่าการ และการติดตามผลการตรวจสอบของผู้ว่าการ ตามมาตรา 85 เป็นบทบัญญัติ ที่มีเนื้อหาเป็นอุปสรรคในการติดตามผลการตรวจสอบของผู้ว่าการ เพื่อเป็นการแก้ไขข้อบกพร่องดังกล่าว จึงได้เสนอแนะให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 ให้มีบทบัญญัติที่สอดคล้องกับผลการศึกษาและประเด็นปัญหา ดังกล่าวข้างต้น เพื่อให้การตรวจเงินแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่การเงินการคลังของรัฐได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | งบประมาณ--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ--ไทย | th_TH |
dc.subject | งบประมาณ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชน | th_TH |
dc.title | ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.title.alternative | Problems on enforcement of the organic act on state audit B.E.2561 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent study aims to study background, concepts, theories of controlling government authorities and state audits, problems about the Organic Act on State Audit B.E. 2561, and suggests solutions to improve regulation of the Organic Act on State Audit B.E. 2561. This independent study is qualitative research. Theses, books, journals, articles, researches, legislations of relative laws and other relative electronic information were studied. It was found that there were several shortcomings of the Organic Act on State Audit B.E. 2561 which made an examination of government revenues and expenses less efficient and it is impossible to prevent damages to public finances. The study is divided into three parts as follows. First, a taxation examination of inspection units under the last paragraph of Section 86 prohibits the governor from examining the taxation assessment of the inspection unit. Secondly, the procurement examination of the inspection unit under Section 89 is a provision that diminishes power of the pre-audit procurement inspection of the governor. Thirdly, following up of the examination results of the governors under Section 85 is a provision, of which the content obstructs following up on results of the governor. In order to resolve the mentioned shortcomings, the Organic Act on State Audit B.E. 2561 should be improved to contain legislation which relates to the mentioned results and issues. The purpose of this improvement is streamline state audits and prevent damages to government finances. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License