Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิรัช วิรัชนิภาวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิรินทร์ ธูปกล่ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมาริษา ตันติพรเดชา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T07:30:32Z-
dc.date.available2023-03-16T07:30:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4500-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อ (1) การ บริหารจัดการ (2) ปัญหา และ (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัคการด้านการให้บริการประชาชนระหว่าง เทศบาลเมืองนราธิวาสกับเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ในจังหวัดนราธิวาส โดยนำการบริหารจัดการตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8 ประการ ซึ่งประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน การพึ่งตนเอง การเสริมสรัางคุณภาพคนให้มีทั้งความรู้และคุณธรรมควบคู่กัน การรวมกลุ่ม การสรัางเครือข่าย และ ความสมดุลและการพัฒนาที่ยั่งยืนน มาเป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามชึ่งผ่านการทดสอบ รวมทั้งการหา ค่าความเที่ยงตรงและความเชึ่อถึอได้ของแบบสอบถามที่ระดับ 0.92 กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 1,402 คนแบ่งเป็น (1) ประชาชนที่อาคัยอยู่ในพื้นที่ตำบลบางนาค อำเภอเมืองนราธิวาส (2) เจ้าพนักงานส่วนท้องถิ่นเทศบาล เมืองนราธิวาส (3) ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส และ (4) เจ้าพนักงานส่วนท้องถิ่นเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก กลุ่มตัวอย่างได้ตอบแบบสอบถาม และเก็บรวบรวมแบบ กลับคืนมาได้ 1,303 ชุด เท่ากับร้อยละ 93.00 ของแบบสอบถามที่แจกออกไปทั้งหมด (1,402 ชุด) ในการ วิเคราะห'' ข้อมูลได้นำคอมพิวเตอร์และสถิติที่นำมาใช้ คือ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่า การบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทั้ง 8 ด้านของเทศบาลทั้ง 2 แห่ง ไม่แตกต่างกัน (2) ปัญหาที่สำคัญ คือ เทศบาลทั้ง 2 แห่ง ไม่เห็นถึงความสำคัญของการรวมกลุ่มเพื่อสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ และ (3) สำหรับแนวทางการ พัฒนาที่สำคัญ คือ เทศบาลทั้ง 2 แห่ง ควรฝึกอบรมหรือพัฒนาผู้บริหารทุกระดับให้มีความเข้าใจและเห็นถึง ความสำคัญของการรวมกลุ่มเพึ่อสนับสนุนกิจกรรมสาธารณะ นอกจากนี้เทศบาลทั้ง 2 แห่ง ควรนำการ บริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้กับการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนใน อนาคตต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.345-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเทศบาลเมืองนราธิวาส--การบริหารth_TH
dc.subjectเทศบาลเมืองนราธิวาส--การจัดการth_TH
dc.subjectเทศบาลสุไหงโก-ลก--การบริหารth_TH
dc.subjectเทศบาลสุไหงโก-ลก--การจัดการth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.titleการเปรียบเทียบการบริหารจัดการด้านการให้บริการประชาชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระหว่างเทศบาลเมืองนราธิวาสกับเทศบาลสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาสth_TH
dc.title.alternativeThe comparison of management administration in terms of people services according to the sufficiency economy philosophy between Narathiwat and Sungaikolok Municipalities in Narathiwat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.345-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to compare the opinions of samples on (1) the management administration, (2) the problems, and (3) the development guidelines of management administration in terms of people services between Muang Narathiwat and Muang Sungaikolok Municipalities. The Sufficiency Economy Philosophy Consisted of 8 factors: moderation, rationality, self-immunity, self- reliance, strengthening the qualities of people in both knowledge and morality, cohesiveness, network establishment, as well as equilibrium and sustainable development was applied as conceptual framework. This research was a survey research using questionnaires as instrument that had been pre-tested and checked for validity, with reliability at 0.92. Samples of 1,402 were divided into 4 groups: (1) local residents in Bang Nak Subdistric, Muang Narathiwat District, (2) local officials of Muang Narathiwat District Municipality, (3) local residents in Sungaikolok Subdistrict, Muang Sungaikolok District, (4) and local officials of Muang Sungaikolok District Municipality. The questionnaires were retrieved at the amount of 1,303 (93%). In data analysis, computer and statistics of percentage, mean, standard deviation, and t-test were applied. The research results revealed that (1) the samples agreed that the management administration in terms of people services according to the Sufficiency Economy Philosophy of 8 factors of both municipalities was not different; (2) the main problem was that both municipalities was not concerned of the importance of cohesiveness in order to support public activities; and (3) the significant develop their own executives at all levels to understand and pay more attention on the importance of cohesiveness to support public activities. Besides, both municipalities should apply the Sufficiency Economy Philosophy to their people service delivery in the futureen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
107338.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons