Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสาคร สิทธิศักดิ์, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-16T07:53:53Z-
dc.date.available2023-03-16T07:53:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4512-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการจัดองค์กรของฝ่ายปกครองและการจัดทำบริการสาธารณะในด้านการดูแลผู้สูงอายุ 2. ศึกษาสภาพการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการแบ่งอำนาจหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย 3. ศึกษาสภาพการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการแบ่งอำนาจหน้าที่ในการดูแลผู้สูงอายุระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยกับต่างประเทศ 4. วิเคราะห์ประเด็นปัญหาความซํ้าซ้อนในอำนาจหน้าที่ด้านการดูแลผู้สูงอายุของรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามกฎหมายไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ และ 5. เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการแบ่งอำนาจหน้าที่ในการจัดทำบริการสาธารณะด้านการดูแลผู้สูงอายุระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีวิจัยเอกสาร ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจาก ตำรากฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และบทความทางวิชาการ ผลการศึกษาพบว่าในการจัดทำบริการสาธารณะด้านการดูแลผู้สูงอายุมีการดำเนินการ ที่ซํ้าซ้อนกันระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เนื่องจากมีการถ่ายโอนภารกิจ และจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมาใหม่ โดยที่ยังไม่ได้มีการแบ่งแยกภารกิจกันให้ชัดเจน ผู้ศึกษาจึงได้เสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเพิ่มเติมบทบัญญัติให้มีสถานะเป็นกฎหมายพิเศษ กำหนดขอบเขตของอำนาจ และหน้าที่ระหว่างราชการบริหารส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้ชัดเจน ให้มีการทำภารกิจร่วมกันระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดทำบริการสาธารณะ โดยมิให้ถือว่าเป็นการซํ้าซ้อนกัน และให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจและหน้าที่ในการจัดทำบริการสาธารณะของรัฐและขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การสงเคราะห์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleความซ้ำซ้อนในอำนาจหน้าที่ด้านการดูแลผู้สูงอายุของรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth_TH
dc.title.alternativeRedundancy in elderly caregiving by the state and local governmentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to 1) study concepts, theories and principles of administrative organizations and elderly caregiving services; 2) study law enforcement regarding allocation of elderly caregiving public duties between the State and local governments in Thailand; 3) study law enforcement regarding allocation of elderly caregiving duties between the State and local governments in other countries; 4) analyze problems due to redundancy in elderly caregiving by the State and local governments according to the Thai laws and compare them with foreign laws; and 5) propose ways to improve laws on allocation of elderly caregiving duties between the State and local governments in Thailand; 3) study law enforcement regarding allocation of elderly caregiving public duties between the State and local governments. This independent study is a qualitative research. Documents were studied and data were collected from relevant legal textbooks, rules, regulations and academic journals. The research findings revealed redundancy of public care services for the elderly between the State and the local governments due to transfer of tasks and establishment of new agencies without clear task allocation. The author proposed that the laws be amended, task allocation plans be made. It should become a special law. Authorities and duties of the State and the regional and local governments should be clearly defined. There should also be a joint mission between the State and local governments to enhance capacity of public services. They should not be considered redundant. A committee should be set up to determine power and duties of the State and local administrative organizationsen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons