Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพ่อค้าth_TH
dc.contributor.authorสุชาติ อยู่เกตุ, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T01:46:25Z-
dc.date.available2023-03-17T01:46:25Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4543en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “กระบวนการกำหนดโทษทางวินัยและการอุทธรณ์ตามมติ ป.ป.ช.” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฏี และหลักกฎหมายเกี่ยวกับหลักนิติรัฐอันเป็นหลักสากลที่นำไปสู่หลักการปกครองในรัฐ ตลอดจนหลักการกระทำทางปกครองที่มีผลกระทบต่อเสรีภาพของบุคคลภายในรัฐและหมายรวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐที่ได้รับโทษโทษทางวินัย จึงทำให้เกิดการควบคุมการกระทำของฝ่ายปกครองให้อยู่ในหลักการก่อนที่จะนำคดีไปถึงองค์กรตรวจสอบภายนอกฝ่ายปกครอง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสาร จากกฎหมายของไทยและของต่างประเทศ ตำรา บทความทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ด้านกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้อง คำสั่งศาลปกครองสูงสุด ความเห็นของคณะกรรมการ และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2546 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2554 ตามมาตรา 92 และมาตรา 96 มีกระบวนการกำหนดโทษทางวินัยและการอุทธรณ์ ซึ่งเป็นการรวมอำนาจให้ ป.ป.ช. เป็นผู้ไต่สวนข้าราชการผู้ถูกกล่าวหา โดยไม่ต้องแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอีก ให้ถือว่ารายงานเอกสารและความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นสำนวนการสอบสวนทางวินัยของคณะกรรมการสอบสวนวินัย ซึ่งส่งผลถึงการกำหนดโทษทางวินัย และเป็นการปิดกั้นการใช้อำนาจของคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามกฎหมายเฉพาะ ที่ไม่สามารถตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของการวินิจฉัยอุทธรณ์ได้อย่างครบถ้วน ทำให้อุทธรณ์เป็นการอุทธรณ์ที่ไม่เกิดผลทางกฎหมาย โดยผู้วิจัยได้เสนอแนะแนวทางแก้ไขให้สามารถอุทธรณ์คำวินิจฉัยการลงโทษทางวินัยซึ่งมาจากสำนวนการสอบสวนของ ป.ป.ช. ต่อ คณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์ตามกฎหมายเฉพาะได้ตามปกติซึ่งจะสามารถทบทวนหรือตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายของกระบวนการสอบสวนทั้งหมดได้ มิใช่ให้อุทธรณ์ได้เฉพาะในกรณีดุลพินิจในการกำหนดโทษเท่านั้น เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานของหลักกฎหมายทั่วไป และเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกกล่าวหาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวินัยth_TH
dc.subjectอุทธรณ์th_TH
dc.subjectวินัย--อุทธรณ์th_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleกระบวนการกำหนดโทษทางวินัยและการอุทธรณ์ตามมติ ป.ป.ช.th_TH
dc.title.alternativeDisciplinary action and appeal process in case of proceeding related to the resolution of the National Anti-Corruption Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study on “Disciplinary Action and Appeal Process in Case of Proceeding Related to the Resolution of the National Anti-Corruption Commission” was aimed at investigating the concepts, theories, and laws pertaining to the rule of law as a general principle according to the legal state. The study also examined the principle of administrative actions that affected the freedom of the individuals within the state including the state officials, who have been given disciplinary actions. The action procedure of the administrative officials should be in line with the legal principle before the case was brought to external judicial review bodies. This independent study is a qualitative research, utilizing documentary research methodology related to the laws of Thailand and abroad and information from textbooks, academic articles, theses on administrative laws, orders of the Supreme Administrative Court, decisions of the Commission, and other relevant documents. The results of the study reveal that Section 92 and Section 96 under the Organic Acts on the Prevention and Suppression of Corruption Act B.E. 2546 as amended by the Act No. 2, B.E. 2554 prescribe the disciplinary action and appeal process whereby the National Anti-Corruption Commission is given the power of the investigation and the investigation file is deemed to be that of the committee on investigation without appointing such actual committee. This investigation file shall also be the facts for the conviction of the accused officials and it shall appeal only to the matter of imposing conviction not a normal appeal process. As a result, the powers of the Appellate Committee for the commutation of the disciplinary action are thwarted, thus making the appeal legally nullified. The researcher suggests for the solutions by allowing the appeal of the whole disciplinary decision under the principle of disciplinary tribunal not only the part of imposition of discipline action in order to comply with the standards of general principles of law and to protect the rights of the accused.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons