Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4564
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิติพัฒน์ เมฆขจร | th_TH |
dc.contributor.author | กรกช นวพงศ์ธนานนท์, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-03-17T02:40:43Z | - |
dc.date.available | 2023-03-17T02:40:43Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4564 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความกล้าแสดงออกในวิชานาฏศิลป์ ของนักเรียนกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกล้าแสดงออก และ (2) เปรียบเทียบความกล้าแสดงออกในวิชานาฏศิลป์ของนักเรียนกลุ่มทดลอง ระยะหลังการใช้ ชุดกิจกรรมแนะแนวกับระยะติดตามผลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2559 ของโรงเรียนสุวรรณพลับพลาพิทยาคม กรุงเทพมหานคร 1 ห้องเรียน จำนวน 30 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มจากห้องเรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยความกล้าแสดงออกในวิชานาฏศิลป์ ต่ำที่สุด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกล้าแสดงออกในวิชา นาฏศิลป์ จำนวน 8 กิจกรรม และ (2) แบบวัดความกล้าแสดงออกในวิชานาฏศิลป์ มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .80 และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) หลังจากใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกล้า แสดงออกในวิชานาฏศิลป์ นักเรียนกลุ่มทดลองมีความกล้าแสดงออกในวิชานาฏศิลป์ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีระดับความกล้าแสดงออกในวิชา นาฏศิลป์ ในระยะหลังการทดลองกับระยะติดตามผลไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นาฏศิลป์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--ไทย--กรุงเทพฯ. การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกล้าแสดงออกในวิชานาฏศิลป์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุวรรณพลับพลาพิทยาคม กรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using a guidance activities package to develop assertive behaviors in the Thai Classical Dance Course of Mathayom Suksa I Students at Suwan Plubpla Pittayakhom School in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the levels of assertive behavior in the Thai Classical Dance Course of the experimental group students before and after using a guidance activities package to develop assertive behaviors; and (2) to compare the levels of assertive behaviors in the Thai Classical Dance Course of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow-up period. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa I students in an intact classroom of Suwan Plabpla Pittayakhom School in Bangkok Metropolis during the 2016 academic year. The classroom was among those that had lowest mean scores on assertive behaviors in the Thai Classical Dance Course, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop assertive behaviors in the Thai Classical Dance Course consisting of eight activities, and (2) a scale to assess assertive behaviors, with reliability coefficient of .80. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and ttest. The research results were as follows: (1) after using the guidance activities package to develop assertive behaviors in the Thai Classical Dance Course, the level of assertive behavior in the Thai Classical Dance Course of the experimental group students increased significantly at the .01 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between the levels of assertive behavior in the Thai Classical Dance Course of the experimental group students at the end of the experiment and during the follow-up period. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_154754.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License