Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญth_TH
dc.contributor.authorอรุณโรจน์ ยิ่งคำนึง, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T02:59:37Z-
dc.date.available2023-03-17T02:59:37Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4569en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะเพื่อการเรียนการสอนของ ครูโรงเรียนประถมศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ไนการวิจัย ได้แก่ ครูในโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 2 จำนวน 345 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะเพื่อการเรียนการสอนของครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะของครูโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า 7 อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยด้านการวางแผนและการเตรียมการ ครูมีการวิเคราะห์นักเรียนก่อน นำโทรทัศน์อัจฉริยะไปใช้ด้านขั้นการนำไปใช้ครูใช้โทรทัศน์อัจฉริยะช่วยกระตุ้นให้นักเรียนสนใจการ เรียนและครูใช้โทรทัศน์อัจฉริยะช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ไต้รวดเร็วขึ้น และต้านการประเมิน ครูมีการนำผล การประเมินมาใช้ปรับปรุงในการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ (2) ปัญหาในการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ โดยภาพรวม อยู่ในระดับห้อย และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับน้อยทั้ง 3 ด้าน โดยด้านเตรียมการสอน ครู ขาดการแนะนำในการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ ด้านระหว่างสอน ครูประสบปัญหาโทรทัศน์อัจฉริยะขัดข้อง ในขณะที่ใช้และขั้นประเมิน ครูขาดความรู้ในการประเมินการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ และ (3) ความต้องการ ในการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ทั้ง 3 ด้าน โดย ด้านความต้องการด้านการวางแผนเตรียมการและใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ ครูต้องการคู่มือ เกี่ยวกับการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ ด้านความต้องการการสนับสนุนจากผู้บริหาร ครูต้องการให้ผู้บริหารเห็น ความสำคัญของการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ และด้านความต้องการความรู้ในการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะ ครูต้องการแอพพลีเคชั่น/เว็บไซต์ผ่านโทรทัศน์อัจฉริยะที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโทรทัศน์เพื่อการศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการใช้โทรทัศน์อัจฉริยะเพื่อการเรียนการสอนของครูโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeUse of SMART TV for : Instruction of Teachers in Primary Schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study The Use of SMART TV for Instruction The purpose of this research was to study The Use of SMART TV for Instruction of Teachers in Primary Schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 2. The research sample consisted of 345 teachers in Suratthani Primary Educational Service Area Officee 2, obtained by cluster sampling. The employed research instrument was a questionnaire. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the overall (1) Condition of Smart TV usage or teaching of the elementary school teachers in Suratthani Primary Educational Service Area Officee 2 was rated at the high level; when specific aspects was the high level on all three aspects; (1.1) on the aspect of planning and preparation, teachers analyze students before using Smart TV; (1.2) on the aspect of applying, teachers use Smart TV to encourage students to focus on their studies and to help students learn more quickly; and (1.3) on the aspect of evaluation, teachers have improved the use of assessment results in the use of Smart TV; (2) Problem in the Smart TV usage or teaching that the overall was rated at the low level; when specific aspects was the low level on all three aspects; (2.1) on the aspect of preparation for teaching, teachers lack advice on using Smart TV; (2.2) on the aspect of teaching, Smart Tv lost while teaching; and (2.3) on the aspect of evaluation, teachers lack the knowledge to evaluate the use of Smart TV; (3) Demand for Smart TV usage or teaching that the overall was rated at the high level; when specific aspects was the high level on all three aspects; (3.1) demand for planning preparation and use of Smart TV, need a manual of Smart TV; (3.2) need management support, Want executives to see the importance of using Smart TV; and (3.3) demand for knowledge in using Smart TV, need Application / Website for Teaching and Learning.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_155591.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons