Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/456
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลาวัลย์ หอนพรัตน์th_TH
dc.contributor.authorชัยสิริ มั่งศิริ, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา.th_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T01:16:11Z-
dc.date.available2022-08-11T01:16:11Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/456en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายมหาชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ปัญหาการนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้ในมาตรการบังคับทาง ปกครอง ศึกษาเฉพาะกรณีการบังคับชำระหนี้เงิน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเป็นมาของแนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับมาตรการบังคับทางปกครอง 2) ศึกษาวิธีการบังคับตามมาตรการบังคับทางปกครองที่กำหนดให้ชำระหนี้เงิน 3) ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการบังคับทางปกครองที่กำหนดให้ชำระหนี้เงิน 4) ศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการนำการบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้กับกรณีมาตรการบังคับทางปกครองที่บังคับให้ชำระเงิน 5) วิเคราะห์ถึงปัญหาการบังคับใช้มาตราบังคับทางปกครองกรณีการบังคับชำระหนี้เงิน 6) เสนอแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขเพิ่มเติม บทบัญญัติในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 เรื่องอำนาจในการยึด หรืออายัดทรัพย์สิน ระหว่างเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจใช้มาตรการบังคับทาง ปกครองและเจ้าพนักงานบังคับคดีตามคำสั่งศาล หรือแม้แต่ในระหว่างเจ้าพนักงานผู้มี อำนาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองด้วยกันเอง 7) เผยแพร่แนวคิดและทฤษฎีในการบังคับคดี ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ภาคบังคับคดี เพื่อประโยชน์ในการนำมาประยุกต์ใช้กับการบังคับตามมาตรการบังคับทางปกครอง กรณีบังคับชำระหนี้เงิน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยเอกสาร จากคำพิพากษาของศาลฎีกา ตำรา กฎหมาย บทความทางวิชาการ เอกสารประกอบการสัมมนา เพื่อนำมาเป็นฐานในทางทฤษฎี และนำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่บทสรุปโดยวิธีพรรณา ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ที่ให้บังคับชำระหนี้เงินนั้น มีทั้งหมด 3 ปัญหา คือ 1) ปัญหาความซ้ำซ้อนกันของการยึดหรืออายัดทรัพย์สิน 2) ปัญหาเกี่ยวกับกำหนดระยะเวลาในการบังคับคดีโดยนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับในคำสั่งให้ใช้เงินของผู้มีอำนาจบังคับทางปกครอง 3 ) ปัญหาเกี่ยวกับความไม่เชื่อถือในอำนาจบังคับตามคำสั่งทางปกครอง ในปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยขอเสนอให้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 290 โดยเพิ่มเติมให้มีเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามกฎหมายอื่น ลงไปในมาตรา 290 ต่อจากเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจทางภาษีอากรเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติและเสนอข้อแก้กฎหมายให้กรมบังคับคดีมีอำนาจบังคับคดีปกครองได้ด้วย เพราะเป็นหน่วยงานที่มีความชำนาญในการยึด อายัด และขายทอดตลาด ทั้งยังมีหน่วยงานกระจายอยู่ทุกศาลทั่วประเทศอยู่แล้วth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.88en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาความแพ่งth_TH
dc.subjectการชำระหนี้th_TH
dc.titleปัญหาการนำประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้ในมาตรการบังคับทางปกครองศึกษาเฉพาะกรณีการบังคับชำระหนี้เงินth_TH
dc.title.alternativeProblems of applying the code of civil procedure to administrativee measures. Case study : forced repaymenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.88en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research on problems of applying the Code of Civil Procedure to Administrativee Measures. Case Study: Forced Repayment, are: 1) to study of the theory on administrative measures; 2) to study how to enforce the compulsory rules requiring repayment; 3) to study the laws relating to compulsory rules requiring repayment; 4) to study the problem of bringing a case under the Code of Civil Procedure applicable to cases of administrative measures to enforce payment; 5) to analyze the problem of enforcing the applicable statute governing the enforcement of repayment; 6) to propose appropriate amendments the provisions of the Code of Civil Procedure Section 290 on the power to seize or freeze assets the official authority compulsory administrative and official court order even during officially authorized the use of administrative measures themselves; 7) to disseminate ideas and theories in court according to the Code of Civil Procedure in order to bring cases to apply to enforcement of administrative measures for forced repayment. This research is a qualitative study. Documents from the judgment of the Supreme Court, legal texts, technical articles and seminar documents were studied. Data were analyzed to bring about descriptive conclusion. The research found three problems of applying administrative measures for forced repayment as follows. 1) The problem of duplicated seizure or attachment. 2) The problems with the timing of the execution and the Code of Civil Procedure and authorities forcing the repayment. 3) The problem with incredibility in the enforcement of the administrative order. In such problems, the researchers proposed to solve the Code of Civil Procedure Section. Officers authorized by the law in Section 290 should be added for clarity when operating. The law should be amended so the Legal Execution Department has the authority of the enforcement of the administrative order because it is an agency specialized in seizure, the court ruling as well. Because the agency has the expertise to seizure, freezing and auction. In addition, it has other sub-units in all courts in the country.en_US
dc.contributor.coadvisorสมชาย จุลนิติ์th_TH
dc.contributor.coadvisorรังสิกร อุปพงศ์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib151577.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons