Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4580
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรเดช มโนลีหกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุบัณฑิต หลวงศรี, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T03:43:08Z-
dc.date.available2023-03-17T03:43:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4580-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารราชการแผ่นดินของฝ่ายบริหารตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยศึกษาการได้มาซึ่งนายกรัฐมนตรี การได้มาซึ่งวุฒิสภาและอำนาจในการยุบสภา ที่ทำให้ฝ่ายบริหารไม่สามารถบริหารราชการแผ่นดินได้ตามกลไกของระบอบประชาธิปไตย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากหนังสือ หนังสือที่พิมพ์ในโอกาสพิเศษ หนังสือแปล บทความในวารสาร วิทยานิพนธ์ จุลสารและเอกสารไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีบทบัญญัติ ที่ไม่เป็นไปตามแนวคิด ทฤษฎีในทางกฎหมาย โดยการได้มาซึ่งนายกรัฐมนตรี ไม่เป็นไปตามทฤษฎีสัญญาประชาคมและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตลอดจนการได้มาการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา ไม่เป็นไปตามทฤษฎีสัญญาประชาคม หลักการถ่วงดุลและคานอำนาจ หลักการปกครองในระบบรัฐสภา รวมถึงอำนาจในการยุบสภา ไม่เป็นไปตามทฤษฎีดุลยภาพ หลักการแบ่งแยกอำนาจ หลักการถ่วงดุลและคานอำนาจ และหลักการปกครองในระบบรัฐสภา โดยทั้งสามกรณีทำให้ระบบกลไกการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยเกิดความบกพร่อง ส่งผลถึงการบริหารราชการแผ่นดินของฝ่ายบริหาร ทำให้การพัฒนาประเทศและการส่งเสริมประชาธิปไตยไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ได้เสนอแนะให้มีการยกเลิกและแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ในมาตรา 88 ประกอบ มาตรา 272, มาตรา 107 และมาตรา 151th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectนายกรัฐมนตรีth_TH
dc.subjectสมาชิกวุฒิสภา--การเลือกตั้งth_TH
dc.subjectการยุบสภา--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการบริหารราชการแผ่นดินของฝ่ายบริหารตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 : ศึกษากรณีการได้มาซึ่งนายกรัฐมนตรี การได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา และอำนาจในการยุบสภาth_TH
dc.title.alternativeThe governance of state under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 : a case study of problems on the head of executive, relations to the senate and power to dissolve parliamenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study has objective on problems of the governance of state under the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 by learning from cases on acquiring of a prime minister, relations to the senate and power to dissolve parliament which make the executive shall not run the government in conformity with mechanisms of democracy. This independent study is qualitative researching which researched from books that published in special occasion, translated books, the articles from journals, theses, pamphlets, and documents that are not published as well as electronic data from both domestic sources and aboard. The study found that the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 has some provisions that are not in conformity with constitutional concepts. Firstly, the acquiring of a prime minister is not conformed to the Social Contract Theory. Secondly, the acquiring of senators is not conformed to the Social Contract Theory, Check and Balance of Powers and Parliamentary System of Government. Thirdly, the power to dissolve parliament is not conformed to the Equilibrium Theory, Separation of Powers, Check and Balance of Powers and Parliamentary System of Government. The above three cases shall flawed the mechanisms of checking and balancing power of Sovereignty and affected the administration of government. The development of the country and enhancement of democracy are also inefficient. So the researcher has suggested to the cancellation or the amendment of such provisions of the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560 as Section 88, Section 272, Section 107 and Section 151, as the case may been_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons