Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ ปิติยาศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorสุรวัฒน์ อยู่เป็นสุข, 2523-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T05:03:43Z-
dc.date.available2023-03-17T05:03:43Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4602en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาแนวคิดทฤษฎี และหลักการเกี่ยวกับการกระจายอำนาจทางปกครองและความเป็นอิสระขององค์ปกครองส่วนท้องถิ่น การกำกับดูแลองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีและหลักกฎหมายเกี่ยวกับการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความเหมาะสม การค้นคว้าอิสระนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาจากเอกสารตำราหรือเอกสารวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความและเอกสารที่เกี่ยวกับความเป็นอิสระองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองและสัมภาษณ์ผู้บริหารท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งรับผิดชอบเรื่องการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่าการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองที่ออกตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยแท้ ผู้ว่าราชการจังหวัดซึ่งเป็นผู้กำกับดูแล มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์ก้าวล่วงไปถึงเรื่องความเหมาะสมและการใช้ดุลพินิจของผู้บริหารท้องถิ่น ทำให้ขัดแย้งกับหลักการกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีอำนาจควบคุมเฉพาะความชอบด้วยกฎหมายเท่านั้น ดังนั้น จึงควรแก้ไขการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองที่ออกตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยแท้ โดยกำหนดให้ผู้กำกับดูแลมีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์เฉพาะความชอบด้วยกฎหมายและหากเห็นว่าคำสั่งทางปกครองนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมายให้มีอำนาจฟ้องต่อศาลปกครองเพื่อเพิกถอนคำสั่งทางปกครองเท่านั้น แต่ในกรณีที่เป็นการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองในเรื่องอื่นๆที่ไม่เกี่ยวกับความชอบด้วยกฎหมาย ควรกำหนดให้ยื่นคำอุทธรณ์ต่อผู้บริหารท้องถิ่นเมื่อผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอุทธรณ์แล้วให้เป็นที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอุทธรณ์th_TH
dc.subjectวิธีพิจารณาความอาญาth_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleปัญหาการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539th_TH
dc.title.alternativeProblem on consideration of appeal against Administrative Orders of Local Governments under the Administrative Procedure Act, BE 2539en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this Independent Study are to study the background, principle and theory of administrative decentralization, study the autonomy and supervision of local governments and the consideration of appeal against administrative orders of local governments, and to analyze problems on consideration of appeal against administrative orders of local governments by comparing Thai and foreign legal principle to provide recommendation for improvement. This study is a qualitative, documentary study with collection and analysis of related legal textbooks, research, thesis, articles and documents on judicial autonomy of local government administrative organization and principle of appeal against administrative orders. Interview of local administrators and administrative officials who are responsible for consideration of appeal against administrative orders was also conducted. It is found that in case of an appeal against an administrative order that has been truly issued by authority of local governments according to their autonomy, the governor of each province who supervises the consideration is authorized to consider the justification of the appeal as well as to overrule the decision of local administrators. This conflicts with the principle of local autonomy by which a governor is authorized to appeal only in case of legitimacy of an administrative order. It is therefore recommended to amend the principle of appeal against an administrative order that has been truly issued by authority of local governments according to their autonomy to authorize the supervisor to consider an appeal only in case of legitimacy of an order; whereas, in the case where the supervisor considers that an order is illegitimate, he is authorized to submit the case to the administrative court to withdraw such order. For other appeals that are not related to the legitimacy of administrative order, it is recommended to be submitted for local administrator’s consideration whose judgment is deemed final.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons