Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4609
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชัย รัตนสกาววงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาภร สิมนาม, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-03-17T06:40:42Z-
dc.date.available2023-03-17T06:40:42Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/4609-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยข้าราชการพลเรือนและการฟ้องคดีทางวินัยข้าราชการ การบังคับคดีภายหลังมีคำพิพากษาของศาล ข้อจำกัดการฟ้องคดีที่ฝ่ายปกครองหรือผู้บังคับบัญชามีคำสั่งลงโทษทางวินัยไม่ร้ายแรงภายหลังจากที่ศาลพิพากษาเพิกถอนคำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงในเหตุเดียวกัน และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการดำเนินการภายหลังมีคำพิพากษาที่เพิกถอนคำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง โดยเห็นว่าเป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีวิจัยเอกสาร จากตัวบทกฎหมาย หนังสือตำรา บทความ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย คำพิพากษาศาลปกครองเกี่ยวกับการเพิกถอนคำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรง รวมทั้งเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินตามคำพิพากษาในชั้นการบังคับคดีที่มีคำพิพากษาเพิกถอนคำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงโดยเห็นว่าเป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรงของข้าราชการพลเรือน เป็นกรณีที่ศาลปกครองได้ตัดสินฐานความผิดทางวินัยแล้ว แต่ในการบังคับคดีนั้นฝ่ายปกครองต้องเป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งในการบังคับคดีนั้นผู้บังคับบัญชาต้องพิจารณาลงโทษใหม่อีกครั้ง เพราะถือว่าข้าราชการผู้นั้นยังคงมีความผิดวินัยไม่ร้ายแรงที่ยังอาจลงโทษได้หลายสถานตามความหนักเบา เมื่อผู้ได้รับคำสั่งลงโทษทางวินัยในครั้งหลังนี้ เห็นว่าโทษที่ตนได้รับนั้นหนักเกินไปต้องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองที่เกิดจากการดำเนินการตามคำพิพากษา ต่อคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) และสิ้นสุดกระบวนการโต้แย้งคำสั่งทางปกครองเพียงชั้น ของ ก.พ.ค. เท่านั้น ไม่มีสิทธินำคำสั่งทางปกครองที่เกิดจากการดำเนินการตามคำพิพากษาดังกล่าวยื่นฟ้องต่อศาลปกครองได้อีกเนื่องจากคำพิพากษาของศาลปกครองในเรื่องดังกล่าวถึงที่สุดแล้วth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายมหาชน--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศาลปกครอง--การพิจารณาและตัดสินคดีth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายมหาชนth_TH
dc.titleข้อจำกัดการฟ้องคดีที่เกี่ยวกับการดำเนินการตามคำพิพากษาที่เพิกถอนคำสั่งลงโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงโดยเห็นว่าเป็นความผิดวินัยไม่ร้ายแรงth_TH
dc.title.alternativeLimitation of the lawsuits following the execution of judgments revoking orders imposing punishment for a gross disciplinary breach on the ground that it does not constitute a gross disciplinary breachen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study theoretical concepts and the law on discipline of civil servants, disciplinary cases and the execution of the judgment of the court, the problem on limitation of the lawsuits following the execution of judgments revoking orders imposing punishment for a gross disciplinary breach on the ground that it does not constitute a gross disciplinary breach, and to suggest the proper solutions to the problem. This independent study was a qualitative and documentary research by analyzing the provisions of law, books, textbooks, articles, theses, research papers, judgments of the Administrative Court regarding disciplinary action, as well as other related documents. The study found that in execution of the judgments revoking orders imposing punishment to civil servants for a gross disciplinary breach, on the ground that it does not constitute a gross disciplinary breach, the Administrative Court is the final body to decide the ground of offense and the administrative is the execution body. In this regard, the punishment must be considered again because it is considered that the servant is still guilty to some extent. If the civil servant in the latter punishment finds that the penalty he or she has received is too heavy, he or she may appeal the latter administrative order resulting from the execution of the court judgment to the Merit System Protection Commission (MSPC) and the dispute over that administrative order must end at this level. Such civil servant has no right to file the latter administrative order arising from the execution of the court judgment as a lawsuit against the issuer again before the Administrative Court because the first judgment of the Court is already finalen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons