Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/460
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเรณุการ์ ทองคำรอด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุปราณี มนเหลา, 2519--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-11T02:30:33Z-
dc.date.available2022-08-11T02:30:33Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/460-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2558th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายแบบสหสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การคิดอยางเป็นระบบ ความใฝ่รู้ ความรอบคอบในการทำงาน ลักษณะมุ่งอนาคต ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป และวัฒนธรรมองค์การตามการรับรู้ของ ผู้บริหารการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน เขตสุขภาพที่ 3 (2) ความสัมพันธ์ระหว่างความใฝ่รู้ ความรอบคอบในการทํางาน ลักษณะมุ่งอนาคตภาวะผู้นําเชิงปฏิรูป และวัฒนธรรมองค์การกับการคิดอย่างเป็นระบบของผู้บริหารการพยาบาล และ (3) ปัจจัยพยากรณ์การคิดอย่างเป็นระบบของผู้บริหารการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ หัวหน้าพยาบาล และหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน เขตสุขภาพที่ 3 ซึ่งปฏิบัติงานตั้งแต่ 1 ปี ขึ้นไป จำนวน 106 คน กสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้คือ (1) ปัจจัยส่วนบุคคล (2) การคิดอยางเป็นระบบ (3) ความใฝ่รู้ ความรอบคอบในการทํางาน และลักษณะมุ่งอนาคต (4) ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป (5) วัฒนธรรมองค์กร ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ได้ค่า CVI ของแบบสอบถาม ส่วนที่ 2, 3, 4 และ 5 เท่ากับ 0.98, 0.98, 1.00 และ 0.93 ตามลำดับ และวิเคราะห์หาความเที่ยง ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ 0.89, 0.92 และ 0.80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบวา (1) ผู้บริหารการพยาบาลมีการคิดอยางเป็นระบบ ความใฝ่รู้ ความรอบคอบในการทํางาน ลักษณะมุ่งอนาคต ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป และวัฒนธรรมองค์การของผู้บริหารการพยาบาลโดยรวมอยู่ในระดับสูง (2) ความใฝ่รู้ ความรอบคอบในการทำงาน ลักษณะมุ่งอนาคต ภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป และวัฒนธรรม องค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับการคิดอย่างเป็นระบบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (r = 0.601, 0.634, 0.477, 0.603, และ 0.473 ตามลำดับ) (3) ปัจจัยความรอบคอบในการทํางาน (X1) ความใฝ่รู้ (X2) และภาวะผู้นำเชิงปฏิรูป (X3) สามารถำนายการคิดอย่างเป็นระบบได้ร้อยละ 48.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (R2 =0.485) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ ŷ = 1.252+ 0.268 X1+0.231 X2+0.224 X3 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Z = 0.278 X1+0.291 X2+0.223 X3th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.93-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลชุมชน เขตสุขภาพที่ 3th_TH
dc.subjectผู้บริหารth_TH
dc.subjectความคิดและการคิดth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคิดอย่างเป็นระบบของผู้บริหารการพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน เขตสุขภาพที่ 3th_TH
dc.title.alternativeThe factors iinfluencing the systems thinking of Nurse administrators at Community Hospitals, Area Health 3thth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2015.93-
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this correlational design were study: (1) the systems thinking, inquiry mind, task circumspection, future orientation, transformational leadership and organizational culture as perceived by the nurse administrators at community hospitals, Area Health 3 th; (2) the relationships between inquiry mind, task circumspection, future orientation, transformational leadership, organizational culture with systems thinking of nurse administrators; and (3) the predictors that predict the systems thinking of nursing administrators. The sample of this study comprised 106. nursing administrators with work experiences at least one year .They were selected by the simple random sampling method. The instruments were questionnaires and consisted of five sections: (1) personal factors; (2) systemic Thinking of nurse administrators; (3) inquiry mind, task circumspection, and future orientation; (4) transformational Leadership; and (5) organization culture. The validity of the tools was verified by five experts. The CVIs of the second to five sections were 0.98, 0.98, 1.00 and 0.93 respectively. The cronbach alpha reliability coefficients of part two to five were 0.89, 0.92, 0.92 and 0.80 respectively. Statistics used to data analyzed were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product-moment correlation and stepwise multiple regression analysis. The major findings were as follows: (1) the systems thinking, inquiry mind, task circumspection, future orientation, transformational leadership and organizational culture as perceived by the nurse administrators were at high level; (2) Inquiry mind, task circumspection, future orientation, Transformational Leadership, organizational culture were positivety significant with systemic thinking. of nurse administrators, at 0.001 level (R2=0.601, 0.634, 0.477, 0.603 and 0.473) ; and (3) task circumspection, inquiry mind, and transformational leadership could predict there systems thinking. These predictors accounted for 48.5 % (R2 = 0.485) was statistically significant at 0.001 level. The predicted equation of systems thinking in terms of raw scores were : ŷ = 1.252+ 0.268 X1+0.231 X2+0.224 X3 The predicted equation of systems thinking in terms of standard scores were : Z = 0.278 X1+0.291 X2+0.223 X3en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 150601.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.92 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons